กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีชีวิตมีสุข ปีงบประมาณ2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน

กลุ่มรักสุขภาพและสิ่งแวดล้อมบ้านทุ่งวิมาน

น.ส. อรอนงค์ สาเล๊ะ 061-1904453
นางปิ่นอนงค์ สาเล๊ะ
นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน
น.ส. กาญจนา สลำ
นางสีส๊ะ ยังสมัน

อาคารอเนกประสงค์ ม.2 บ้านทุ่งวิมาน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล (คน)

 

0.00
2 จำนวนบุคคลในครอบครัวและอสม.ที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฎิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

 

10.00

ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปีพ.ศ. 2567เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มีผลกระทบอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะด้านการเงินและด้านสุขภาพผู้สูงอายุเป็นวันที่พึ่งพาตนเองได้น้อยลงและมีความเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคมสาเหตุเนื่องจากผู้สูงอายุและครอบครัวให้ความสำคัญในการดูแลรักษาสุขภาพน้อยลงเช่นเรื่องการบริโภคอาหารการขาดการออกกำลังกาย การไม่ได้อยู่ร่วมกันในครอบครัว สาเหตุเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆขึ้นกลุ่มรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมบ้านทุ่งวิมานได้ตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุรวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุก ๆ ด้านดังที่กล่าวข้างต้นจึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีชีวิตมีสุขขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ

ร้อยละ 75 ของผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ อยู่ในเกณฑ์ดี

100.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงที่ขาดคนดูแล ได้รับการดูแลความสะอาดของสภาพแวดล้อม ที่พัก จาก อสม.

เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงที่ขาดคนดูแล ได้รับการดูแลจาก อสม. อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

2.00
3 ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงที่ขาดคนดูแล มีความสุขเพิ่มขึ้น

ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงที่ขาดคนดูแล มีระดับความสุขเพิ่มขึ้นอยู๋ในเกณฑ์ ดี (เครื่องมือการวัด ได้แก่แบบประเมินความสุข หรือความพึงพอใจ)

100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 83
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ดูแล 98
ผู้สูงอายุที่ขาดคนดูแล 8

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้สูงอายุแก่ผู้ดูแล

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้สูงอายุแก่ผู้ดูแล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงินรวม 3,600 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน 98 คน x 70 บาท เป็นเงิน 6,860 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ25บาทx 98 คน เป็นเงิน 4,900 บาท
-ค่าป้าย / จัดทำเอกสารเป็นเงิน 800 บาท
-ค่าเช่าเครื่องเสียง เป็นเงิน 1,000 บาท

กำหนดการกิจกรรม
08.30-09.00ลงทะเบียน
09.00-10.30ให้ความรู้เรื่อง ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ฟังบรรยายต่อเรื่องภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ
12.00-13.30 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.30-14.30 ให้ความรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงให้ผู้สูงอายุการพัฒนาผู้สูงอายุการเสริมสร้างคุณค่าในตัวเองของผู้สูงอายุการปรับตัวของผู้สูงอายุเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00ฟังบรรยายต่อเรื่องการเปลี่ยนแปลงให้ผู้สูงอายุการพัฒนาผู้สูงอายุการเสริมสร้างคุณค่าในตัวเองของผู้สูงอายุการปรับตัวของผู้สูงอายุเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17160.00

กิจกรรมที่ 2 ดูแลสภาพแวดล้อมในที่พักอาศัยของผู้สูงอายุที่ขาดคนดูแลในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ดูแลสภาพแวดล้อมในที่พักอาศัยของผู้สูงอายุที่ขาดคนดูแลในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าตอบแทนผู้ดูแลผู้สูงอายุตั้งแต่เดือน เมษายน 62 - กันยายน 62 ( 6 เดือนๆละ 2 ครั้งๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 30 บาท) 12 ครั้ง x 60 บาท x 8 คนเป็นเงิน 5,760 บาท
-ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ เช่น ผ้าขนหนู ไม้กวาด ไม้ถูพื้น แป้ง ฯลฯจำนวน 2,000 บาท
กิจกรรมดูแลผู้สูงอายุ เช่น(ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน ทำความสะอาดบ้าน ทำความสะอาดร่างกายผู้สูงอายุ พูดคุยให้กำลังใจซักถามปัญหาสุขภาพ ) วัดความดันโลหิตเป็นต้น
รายชื่อผู้สูงอายุที่ขาดคนดูแล จำนวน 8 คน
1.นางฉ๊ะหลงกุนัน บ้านเลขที่ 39 หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน
2.นางฉ๊ะตะวัน บ้านเลขที่ 77 หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน
3.นายหมาด สมัน บ้านเลขที่ 60 หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน
4.นางแปอ๊ะ รบบานาบ้านเลขที่ 88 หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน
5.นางน๊ะนาฮูดา บ้านเลขที่ 73 หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน
6.นางอานาฮูดาบ้านเลขที่ 120 หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน
7.นายมะหะหมาดวัฒนาบ้านเลขที่ 108 หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน
8.นางฉ๊ะ ยาหวัง บ้านเลขที่ 71 หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านควน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ด้านร่างกาย
1.สุขภาพร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
2.ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วย

ด้านจิตใจ
1.มีภาวะสุขภาพจิตที่ดี
2.มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพจิตประกันการเกิดภาวะซึมเศร้า

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7760.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,920.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุที่ขาดคนดูแลได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
2. ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
3. ผู้สูงอายุมีความสุขเพิ่มขึ้น


>