โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีชีวิตมีสุข ปีงบประมาณ2562
ชื่อโครงการ | โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีชีวิตมีสุข ปีงบประมาณ2562 |
รหัสโครงการ | 62-L5307-2-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ประธานกลุ่มรักสุขภาพและสิ่งแวดล้อมบ้านทุ่งวิมาน |
วันที่อนุมัติ | 25 กุมภาพันธ์ 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2562 |
งบประมาณ | 24,920.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางปิ่นอนงค์ สาเล๊ะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 25 ก.พ. 2562 | 30 ก.ย. 2562 | 24,920.00 | |||
รวมงบประมาณ | 24,920.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 83 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล (คน) | 0.00 | ||
2 | จำนวนบุคคลในครอบครัวและอสม.ที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฎิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน) | 10.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปีพ.ศ. 2567เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มีผลกระทบอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะด้านการเงินและด้านสุขภาพผู้สูงอายุเป็นวันที่พึ่งพาตนเองได้น้อยลงและมีความเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคมสาเหตุเนื่องจากผู้สูงอายุและครอบครัวให้ความสำคัญในการดูแลรักษาสุขภาพน้อยลงเช่นเรื่องการบริโภคอาหารการขาดการออกกำลังกาย การไม่ได้อยู่ร่วมกันในครอบครัว สาเหตุเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆขึ้นกลุ่มรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมบ้านทุ่งวิมานได้ตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุรวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุก ๆ ด้านดังที่กล่าวข้างต้นจึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีชีวิตมีสุขขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ร้อยละ 75 ของผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ อยู่ในเกณฑ์ดี |
100.00 | |
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงที่ขาดคนดูแล ได้รับการดูแลความสะอาดของสภาพแวดล้อม ที่พัก จาก อสม. เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงที่ขาดคนดูแล ได้รับการดูแลจาก อสม. อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง |
2.00 | |
3 | ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงที่ขาดคนดูแล มีความสุขเพิ่มขึ้น ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงที่ขาดคนดูแล มีระดับความสุขเพิ่มขึ้นอยู๋ในเกณฑ์ ดี (เครื่องมือการวัด ได้แก่แบบประเมินความสุข หรือความพึงพอใจ) |
100.00 |
- ผู้สูงอายุที่ขาดคนดูแลได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
- ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
- ผู้สูงอายุมีความสุขเพิ่มขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.ย. 2561 00:00 น.