กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการฝึกอบรมเรียนรู้สุขภาวะ แก่อย่างมีคุณค่าชรา อย่างมีความสุข ประจำปี ๒๕๖๒

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี

ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลทุ่งนารี

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลทุ่งนารี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งตำบลทุ่งนารีมีผู้สูงอายุเฉลี่ยจากประชากรทั้งหมด 13.78 เปอร์เซ็น จากจำนวนประชากรทืั้งหมด 10,003 คน

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 08/11/2018

กำหนดเสร็จ 30/01/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมในห้องเรียน โครงการฝึกอบรมเรียนรู้สุขภาวะ แก่อย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีความสุข จำนวน 12 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมในห้องเรียน โครงการฝึกอบรมเรียนรู้สุขภาวะ แก่อย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีความสุข จำนวน 12 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ฝึกอบรมเรียนรู้สุขภาวะ แก่อย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีความสุข จำนวน ๑2 ครั้ง ผู้สูงอายุ
และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๕0 คน งบประมาณประกอบด้วย ๑. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๕0 คนๆละ 50 บาท ๑0 มื้อ เป็นเงิน ๒5,๐00.-บาท 2. ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ กระเป๋าผ้าลดโลกร้อน ฯลฯ จำนวน ๕๐ ชุดๆละ 8๐ บาท เป็นเงิน 4,๐0๐.- บาท 3. ค่าวิทยากร และค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ตามตารางกิจกรรม) 3.๑ ทฤษฎีเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และที่เกี่ยวข้อง - ค่าวิทยากรฝึกอบรม 1 คน x ชั่วโมงละ 500 บาท x 2 ชั่วโมง เป็นเงิน ๑,000 .- บาท 3.๒ สุขภาพ 3 อ และโรคต่างๆที่พบมากในผู้สูงอายุ และที่เกี่ยวข้อง -ค่าวิทยากรอบรม1 คน x ชั่วโมงละ500บาท x 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 2,000.-บาท 3.๓ ทฤษฎีการใช้ชีวิตในวัยผู้สูงอายุ และที่เกี่ยวข้อง
- ค่าวิทยากรฝึกอบรม1คน x ชั่วโมงละ 500 บาท x 2 ชั่วโมง เป็นเงิน ๑,000.- บาท 3.4 ทฤษฎีการออกกำลังกายในวัยผู้สูงอายุ - ค่าวิทยากรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ1คนxชั่วโมงละ 500บาท x4ชั่วโมงเป็นเงิน 2,000.-บาท 3.5 สิทธิ/ประโยชน์ การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ
- ค่าวิทยากรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 1 คน x ชั่วโมงละ 500 บาท x 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 2,000.- บาท 3.6 สุขภาพใจดี ชีวีมีสุขและการจัดสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยและที่เกี่ยวข้อง
- ค่าวิทยากรฝึกอบรม 1 คน x ชั่วโมงละ 500 บาท x 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 2,000.- บาท 3.7 คุณธรรมนำพาผู้สูงอายุ ธรรมะกับการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุ
-ค่าวิทยากรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 1 คน x ชั่วโมงละ 500 บาท x 2 ชั่วโมง เป็นเงิน ๑,000.- บาท 3.8 ทฤษฎี/ปฏิบัติ/ฝึกอาชีพ
-ค่าวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ1 คน x ชั่วโมงละ 500 บาท x 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 2,000.-บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 2,000.- บาท 3.9 ภาษาอังกฤษกับการใช้ชีวิตประจำวัน
-ค่าวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ ๑ คน x ชั่วโมงละ 500 บาท x 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 2,000.-บาท - ค่าเอกสารประกอบ จำนวน 50 ชุดๆละ ๒0 บาท เป็นเงิน๑,000.- บาท 3.10 ทฤษฎีการนวดคลายเครียดยืดเหยียดกล้ามเนื้อ -ค่าวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ ๑ คน x ชั่วโมงละ 500 บาท x 2 ชั่วโมง เป็นเงิน ๑,000.-บาท ๔.๑1 ข้อควรระวังในการใช้ยาและการดูแลสุขภาพช่องปาก - ค่าวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ 2 คน x ชั่วโมงละ500 บาท x 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 2,000.-บาท - 4.12 ทฤษฎีเกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ - ค่าวิทยากรอบรม จำนวน 1 คน x ชั่วโมงละ 500 บาท x 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 2,000.-บาท -2- ๔.๑3 การถ่ายทอดภูมิปัญญาผู้สูงอายุสู่เด็กเยาวชน
-ค่าวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ ๑ คน x ชั่วโมงละ 500 บาท x ๒ ชั่วโมง เป็นเงิน1,000.-บาท รวมเป็นเงิน24,000.- บาท (สองหมื่นสี่พันสิบบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง การเข้าสังคม การแลกเปลี่ยนเรียนร้ซึ่งกันและกัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
53000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่ผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและคณะกรรมการชมรม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่ผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและคณะกรรมการชมรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

โครงการฝึกอบรมเรียนรู้สุขภาวะ แก่อย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีความสุข การศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่ ผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุตำบลทุ่งนารี  จำนวน 60 คน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้เรียนรู้การดำเนินงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผู้สูงอายุ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4500.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมรับประกาศนียบัตรผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมรับประกาศนียบัตรผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

มอบวุฒิบัตรให้แก่ผู้สำเร็จหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลทุ่งนารี

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจ และสร้างสุขทางจิตใจ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 69,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1) ผู้สูงอายุนำความรู้มาพัฒนาตนเองและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2) ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
3) ผู้สูงอายุมีกิจกรรมสร้างสรรค์ทำประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม
4) คุณค่าทางภูมิปัญญาของผู้สูงอายุเป็นที่ประจักษ์และยอมรับ
5) ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นดำรงสืบทอดต่อไป


>