กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ด่านสวี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ด่านสวี

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลด่านสวี

ตำบลด่านสวี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเรื้อรัง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน เป็นโรคที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากระดับน้ำตาลในกระแสเลือดมีปริมาณสูงขึ้นระดับน้ำตาลที่สูงติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำลายหลอดเลือด และอวัยวะต่างๆ เช่น หัวใจไต ตา สมองทำให้เกิดอาการแทรกซ้อนต่อระบบอวัยวะต่างๆ เช่น ส่งผลกระทบต่อเส้นเลือดที่ตาทำให้เกิดอาการตามัว หรือตาบอด ส่งผลต่อเลือดที่ไตทำให้เกิดการทำงานของไตผิดปกติ ไตวายส่งผลต่อเลือดที่หัวใจทำให้เกิดเส้นเลือดหัวใจตีบตันส่งผลต่อระบบประสาททำให้เกิดภาวะปลายเส้นประสาทอักเสบ ส่งผลต่อบริเวณเส้นเลือดปลายมือ ปลายเท้าทำให้เกิดแผลที่เท้าได้ง่าย
ตำบลด่านสวีมีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่เป็นโรคเบาหวานที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลสวี จำนวน200คน และกลุ่มที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ (กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน) จำนวน 11คน ผู้ป่วยทุกคนมีความจำเป็นต้องมีความรู้ และได้รับการประเมินภาวะแทรกซ้อน ทุกคน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลด่านสวี จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเพื่อป้องกันการลดปัจจัยเสี่ยงต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

211.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 211
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2017

กำหนดเสร็จ 31/03/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
ตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1 สำรวจจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน จัดทำทะเบียนผู้ป่วยแยกรายหมู่บ้าน กิจกรรมที่ 2 อบรมความรู้และฝึกปฏิบัติการแก่ผู้ป่วยเบาหวานในเรื่องการดูแลเท้าและสุขภาพช่องปาก  เพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อน
กิจกรรมที่ 3 คัดกรองภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน โดยการตรวจวัดสายตาและการตรวจเท้า ด้วยเส้นเอ็น  Monofilament โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข -กิจกรรมที่ 4 ผู้ป่วยโรคเบาหวานส่งต่อพบแพทย์ในรายที่มีความผิดปกติ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้และทักษะในการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนของตัวเองได้
  2. ผู้ป่วยผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีความผิดปกติความเสี่ยงสูง   ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่สถานบริการสาธารณสุขอย่างเหมาะสม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้และทักษะในการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนของตัวเองได้


>