กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ลำพะยา ประจำปี 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลำพะยา

1. นายทนง ไหมเหลือง
2.นายเวทิณร์แสงประเสริฐ
3. นายรัสทายุโก
4.นายเชลติ้งคำ
5.นายประทีป สุริยะ
6.นายดุษฎีปาลกาลย์
7.นางนงนุชชานุกาญจน์
8. นางยุพิน ทองอุไร
9.นายฉลองทองงาม
10.นายอุทัยขวัญแสง
11.นางเพ็ญศรีทองชูใจ
12.นางอรุณโกวิทยา
13.นายสมศักดิ์หมอกมา
14.นายจำเริญ แก้วมะไฟ
15.นางสาวสุดารัตนวรรณ
16.นางรัตนามณีจันทร์
17.นายบุญลือนวลจันทร์
18.นางกาญจนา วัชระศิรานนท์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลำะยา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุุขภาพแห่งชาติเรื่องหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องคืกรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องที่หรือพื้นที่ พ.ศ.2561ลงวันที่13กันยายน2561 ได้กำหนด ได้กำหนด ข้อ 4 ให้องคืกรปกครองส่วนท้องถอ่นดำเนินและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการกองทุุน มีผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีหน้าที่รับผิดชอบต่อกองทุนโดยตรงมากยิ่บขึ้นไม่ว่าจะเป้นเรื่องของการจัดการระบบธุรการ การเงินหรือความเสี่ยงที่มีต้อกองทุน ภายใต้ความเห็นชอบต่อกองทุนโดยรงมากยิ่ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเารื่องของการจัดการระบบธุรการ การเงิน หรือความเสี่ยงที่มีต้อกองทุน ภายใต้ความเห็นขอบของคณะกรรมการกองทุน ขึ้นตอนการดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ดังนั้นเพื่อการบริหารจัดการทุน และพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนเป้นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ จึงขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพทั้งนี้ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพแต่ะละปีงบประมาร เพื่อค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองคืการบริหารส่วนตำบลลำพะยา

พัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยา ได้ร้อยละ 80

0.00
2 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานและองค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลำพะยา

เพื่อพัฒฒนาศักยภาพคณะทำงานและองคืกรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลำพะยาได้ร้อยละ 80

0.00
3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลำพะยาและเน้นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข

ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนนิงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลำพะยาและเน้นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค้่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน จำนวน 18 คน ๆ ละ 400 บาท จำนวน 5 ครั้ง เป็นเงิน 36,000 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะกรมการกองทุนฯ จำนวน 18 ึร ๆ บะ 25 บาท จำนวน 5 ครั้ง  เป้นเงิน 2,250 บาท 3. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการบริหารกองทุน จำนวน 3 คน ๆ ละ 300 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 900 บาท 4. ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน  900 บาท 5. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ  เป็นเงิน 9,119 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ สามารถบริหารจัดการกองทุุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
49169.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 49,169.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.คณะกรรมการกองทุุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยาสามารถบริหารจัดการกองทุนได้อย้่างมีประสิทธิภาพ
2.องคืกรภาคึเครือข่ายที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยา มีความเข้าใจบทบาทหน้าที่สามารถดำเนินงานกองทุนฯ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยา
3.ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยา มีส่วนร่วมและเข้าถึงบริการของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยา


>