กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาสาร่วมใจคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน (อย.น้อย)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา

ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เด็กและเยาวชนยังไม่มีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และการบริโภคอย่างปลอดภัย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อย ได้มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว

ร้อยละ ๗๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และทักษะในด้านสุขภาพ

100.00 70.00
2 เพื่อให้นักเรียนนำกิจกรรม อย.น้อยไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน

ร้อยละ ๗๐ ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม สามารถแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียนได้

100.00 70.00
3 เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

ร้อยละ ๗๐ ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อยในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

100.00 70.00
4 เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี เช่น ไม่บริโภคน้ำอัดลม ไม่บริโภคอาหารขยะบริโภคนม ผัก ผลไม้ การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง อ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอางก่อนใช้

ร้อยละ ๗๐ ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี

100.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/06/2019

กำหนดเสร็จ 28/06/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้ภาคทฤษฎี เกี่ยวกับพฤติกรรมด้านสุขาภิบาลอาหารแก่เป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้ภาคทฤษฎี เกี่ยวกับพฤติกรรมด้านสุขาภิบาลอาหารแก่เป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมให้ความรู้ภาคทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมด้านสุขาภิบาลอาหารแก่เป้าหมาย - อุปกรณ์ทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ชุทดสอบสารฟอร์มาลินในอาหารจำนวน 1 ชุด เป็นเงิน220บาท ชุดทดสอบซัลไฟต์ (สารฟอกขาว) ในอาหารจำนวน 1 ชุด เป็นเงิน390บาท ชุดทดสอบสารบอแรกซ์ในอาหาร จำนวน1 ชุด เป็นเงิน390บาท ชุดทดสอบยีสต์และเชื่อราในอาหาร จำนวน1 ชุด เป็นเงิน700บาท ชุดทดสอบสีสังเคราะห์ในอาหาร จำนวน1 ชุด เป็นเงิน780บาท ชุดทดสอบซาลิซิลิค (สารกันรา) ในอาหาร จำนวน1 ชุด เป็นเงิน520บาท ชุดทดสอบสารเคมีกำจัดแมลงในผัก ผลไม้ จำนวน1 ชุด เป็นเงิน1,800บาท ชุดทดสอบโคลิฟอร์มในอาหาร จำนวน1 ชุด เป็นเงิน1,950บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการจำนวน1 ผืน เป็นเงิน800บาท - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 100 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน5,000บาท - ค่าอาหาร จำนวน 100 คนๆ ละ 50 บาท 1มื้อ เป็นเงิน5,000บาท - วิทยากร จำนวน5ชม.ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน3,000บาท - ค่าเอกสารพร้อมอุปกรณ์การอบรม จำนวน100ชุดๆ ละ 40บาท เป็นเงิน4,000บาท - ค่ากระเป๋าเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 100 ใบๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 39,550 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.  อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว ๒.  อย.น้อยได้พัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน


๓.  เกิดการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ๔.  นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี เช่น ไม่บริโภคน้ำอัดลม ไม่บริโภคอาหารขยะบริโภคนม ผัก ผลไม้ การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง อ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอางก่อนใช้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
39550.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,550.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว
๒. อย.น้อยได้พัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน



๓. เกิดการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
๔. นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี เช่น ไม่บริโภคน้ำอัดลม ไม่บริโภคอาหารขยะบริโภคนม ผัก ผลไม้ การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง อ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอางก่อนใช้


>