กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอาสาร่วมใจคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน (อย.น้อย)
รหัสโครงการ 62-L4150-1-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 มิถุนายน 2562 - 28 มิถุนายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 สิงหาคม 2562
งบประมาณ 39,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายรังสิมันต์ ดีแม
พี่เลี้ยงโครงการ นางไอลดา เจ๊ะหะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กและเยาวชนยังไม่มีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และการบริโภคอย่างปลอดภัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อย ได้มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว

ร้อยละ ๗๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และทักษะในด้านสุขภาพ

100.00 70.00
2 เพื่อให้นักเรียนนำกิจกรรม อย.น้อยไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน

ร้อยละ ๗๐ ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม สามารถแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียนได้

100.00 70.00
3 เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

ร้อยละ ๗๐ ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อยในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

100.00 70.00
4 เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี เช่น ไม่บริโภคน้ำอัดลม ไม่บริโภคอาหารขยะบริโภคนม ผัก ผลไม้ การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง อ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอางก่อนใช้

ร้อยละ ๗๐ ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี

100.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 39,550.00 0 0.00
??/??/???? จัดอบรมให้ความรู้ภาคทฤษฎี เกี่ยวกับพฤติกรรมด้านสุขาภิบาลอาหารแก่เป้าหมาย 0 39,550.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว ๒. อย.น้อยได้พัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน


๓. เกิดการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ๔. นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี เช่น ไม่บริโภคน้ำอัดลม ไม่บริโภคอาหารขยะบริโภคนม ผัก ผลไม้ การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง อ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอางก่อนใช้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 2562 00:00 น.