กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนร่วมมือ ร่วมใจ ดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

อสม.รพ.สต.บ้านลากอ

อสม.รพ.สต.บ้านลากอ

จัดอบรมที่ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านลากอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 . เพื่อสำรวจค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุดมีคุณภาพตามเกณฑ์2. เพื่อประเมินโภชนาการ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาทารกน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม 3. เพื่อควบคุมป้องกันและแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 4. เพื่อส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดเล

 

75.00

การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรง ฝากครรภ์คุณภาพเป็นเป้าหมายหลักของการให้บริการฝากครรภ์ทุกหน่วยบริการสาธารณสุข ซึ่ง จุดเริ่มต้นที่สำคัญของการฝากครรภ์คุณภาพคือการที่หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ เพื่อให้สามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก ช่วยในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมและมีคุณภาพเกิดความปลอดภัยทั้งมารดาและทารกในครรภ์

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 . เพื่อสำรวจค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุดมีคุณภาพตามเกณฑ์ 2. เพื่อประเมินโภชนาการ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาทารกน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม 3. เพื่อควบคุมป้องกันและแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 4. เพื่อส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ควบคู่กับอาหารตามวัยจนถึง 2 ขวบ
  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
  2. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้รับการเฝ้าระวังและแก้ไขให้คลอดบุตรมีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม
  3. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการควบคุมและแก้ไขไม่ให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดและภาวะคลอดก่อนกำหนด
  4. มารดาหลังคลอดให้ความสำคัญและตระหนักในการให้นมมารดาอย่างเดียว 6 เดือนและควบคู่กับอาหารตามวัยจนถึง 2 ขวบ
75.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการชุมชนร่วมมือ ร่วมใจ ดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก

ชื่อกิจกรรม
โครงการชุมชนร่วมมือ ร่วมใจ ดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็ก โดยการทำสื่อประชาสัมพันธ์ เช่น ป้ายไวนิล แผ่นพับ ภาพพลิกต่างๆ เป็นต้น 2. เจ้าหน้าที่จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ในเรื่องการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ การเปลี่ยนแปลงขณะตั้งครรภ์ การรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก/ยาเม็ดเสริมไอโอดีน/ยาแคลเซียม พัฒนาการทารกในครรภ์
3. เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จัดนิทรรศการเกี่ยวกับสมุนไพรที่ช่วยบำรุงน้ำนม สอนสาธิตท่าการให้นมบุตร วิธีการบีบเก็บน้ำนมให้แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รณรงค์แจกไข่ไก่ให้แก่หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบเพื่อลดภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ และบำรุงครรภ์เพื่อป้องกันทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 5. เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง 5 โรค เช่น ( เบาหวาน/หัวใจ/ความดันโลหิตสูง/ไทรอยด์/ตกเลือดหลังคลอด) และติดตามการรับประทานยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์และเยี่ยมมารดาทารกหลังคลอดในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนควบคู่กับอาหารตามวัยจนถึงอายุ 2ปี จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านลากอ จำนวน 19,300 บาท (หนึ่งหมื่นเก้าพันสามร้อยบาทถ้วน) รายละเอียด ดังนี้ 1. จัดอบรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้รับการอบรม วิทยากรและผู้จัดอบรม ( เจ้าหน้าที่ ) 25 บาท * 55 คน * 2 มื้อ เป็นเงิน 2,750 บาท - ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้รับการอบรม วิทยากรและผู้จัดอบรม ( เจ้าหน้าที่ ) 50 บาท * 55 คน * 1มื้อ เป็นเงิน 2,750 บาท 2. ค่าวัสดุป้ายไวนิล ชื่อโครงการ 1*3 เมตร จำนวน 1 ผืนๆละ 800 บาท เป็นเงิน 800 บาท 4. อาหารเสริม (ไข่ไก่) คนละ 50 ฟองๆละ 2.80 บาท * 50 คน เป็นเงิน 7000บาท 5. ค่าวิทยากร 5 ชมๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 6. ค่าวัสดุจัดนิทรรศการ เป็นเงิน 3,000 บาท
รวมเงินทั้งสิ้น เป็นเงิน 19,300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 2. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้รับการเฝ้าระวังและแก้ไขให้คลอดบุตรมีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม 3. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการควบคุมและแก้ไขไม่ให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดและภาวะคลอดก่อนกำหนด 4. มารดาหลังคลอดให้ความสำคัญและตระหนักในการให้นมมารดาอย่างเดียว 6 เดือนและควบคู่กับอาหารตามวัยจนถึง 2 ขวบ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
2. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้รับการเฝ้าระวังและแก้ไขให้คลอดบุตรมีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม
3. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการควบคุมและแก้ไขไม่ให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดและภาวะคลอดก่อนกำหนด
4. มารดาหลังคลอดให้ความสำคัญและตระหนักในการให้นมมารดาอย่างเดียว 6 เดือนและควบคู่กับอาหารตามวัยจนถึง 2 ขวบ


>