กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

อสม.รพ.สต.ลากอ

อสม.รพ.สต.บ้านลากอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน • อัตราป่วยด้วยโรคหัด ไม่เกิน 8 ต่อประชากรแสนคน • อัตราป่วยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดไม่เกิน 1 ต่อ ประชากรเด็กแรกเกิด 1,000 คน • อัตราป่วยโรคคอตีบ ไม่เกิน 0.02 ต่อประชากร 100,000 คน • อัตราป่วยโรคไอกรน ไ

 

75.00

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง 72 เดือน เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญ เพราะเด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในอนาคต เด็กที่มีคุณภาพ คือ เด็กที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม มีพัฒนาการสมวัย หากเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ จะส่งผลทำให้เด็กมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งอาจเป็นโรคที่มีความรุนแรงถึงชีวิตได้ บิดา มารดาและครอบครัว คือ บุคคลที่มีบทบาทสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก และสร้างเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่เด็ก หากบิดา มารดาและครอบครัว ขาดความรู้ความเข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก จะส่งผลต่อภาวะสุขภาพของเด็ก กรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข จึงได้กำหนดให้เด็กในแต่ละช่วงอายุควรได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โดยความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในแต่ละช่วงอายุ ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 90

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน • อัตราป่วยด้วยโรคหัด ไม่เกิน 8 ต่อประชากรแสนคน • อัตราป่วยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดไม่เกิน 1 ต่อ ประชากรเด็กแรกเกิด 1,000 คน • อัตราป่วยโรคคอตีบ ไม่เกิน 0.02 ต่อประชากร 100,000 คน • อัตราป่วยโรคไอกรน ไม่เกิน 0.08 ต่อประชากร 100,000 คน • อัตราป่วยโรคไข้สมองอักเสบเจอี ไม่เกิน 0.25 ต่อ ประชากร 100,000 คน 2. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ครอบคลุมร้อยละ 90

.ความครอบคลุมของวัคซีน MMR ในเด็กต่ำกว่า 1 ปี ร้อยละ 95 2.ความครอบคลุมของวัคซีน MMR ในเด็ก สองปีครึ่ง ร้อยละ 95                                              3.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ร้อยละ 90 4.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ร้อยละ 90 5.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ร้อยละ 90 6.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ร้อยละ 90

75.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 235
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน

ชื่อกิจกรรม
โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.แต่งตั้งคณะทำงานที่มีจากผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. ประชาชนในพื้นที่ เพื่อจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการวัคซีนในชุมชนแก่คณะทำงาน 2.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่คณะทำงาน เพื่อค้นหาปัญหาในพื้นที่ หรือทำประชาคม และหาแนวปฏิบัติที่มีจากคนในชุมชน 3.อบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีน แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์เพื่อสร้างความตระหนักตั้งแต่ก่อนคลอด และกลุ่มผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0-72 เดือน
4.รณรงค์และประชาสัมพันธ์ในชุมชนและตามสถานที่สำคัญๆในชุมชน เช่น ทีทำการผู้ใหญ่บ้าน มัสยิด โรงเรียน ถึงประโยชน์และโทษของการได้รับและไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน พร้อมทั้งกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติ ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ทำไวนิลติดตามสถานที่สำคัญของชุมชน หอกระจายเสียงโรงเรียน เดินรณรงค์ ฯลฯและจัดนิทรรศการ เพื่อเสริมสร้างและสนับสนุนการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างถูกต่อเนื่อง และยั่งยืน 5.จัดบริการค้นหา และฉีดวัคซีนเชิงรุกในชุมชน 6.จัดทำกระเป่าผ้ามีซิปประจำตัวเพื่อใส่สมุดสีชมพูแก่เด็ก 0-2 ปีทั้งหมดจำนวน 235 คนในเขตรับผิดชอบ เพื่อแก้ไขปัญหาสมุดสีชมพูหาย หรือขาดและเพื่อให้ผู้ปกครองสะดวกในการพาเด็กมารับบริการวัคซีน
7.ติดตามและประเมินผล 1. ติดตามผลการดำเนินงาน 2. ประชุมทีมงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ เพื่อประเมินเรื่องปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการและแนวทางการแก้ไข 3. ติดตามผลงานการรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค และสรุปผลงานทุกเดือน จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะหา จำนวน32,715บาทรายละเอียดดังนี้ 1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้นำในชุมชนหรือทำประชาคม - ค่าอาหารกลางวัน40คน x50บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน2,000บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม40คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน2,000บาท 2.ให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีน แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์เพื่อสร้างความตระหนักตั้งแต่ก่อนคลอด และสุ่มกลุ่มผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0-72 เดือน เฉลี่ยในแต่ละหมู่ๆละ 10 คน - ค่าอาหารกลางวัน40คน x50บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน2,000บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม40คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน2,000บาท
3. ค่าวัสดุป้ายไวนิลชื่อโครงการ 1 ผื่นๆละ 800 บาทเป็นเงิน800 บาท
4.ค่าจัดทำกระเป่าผ้ามีซิปประจำตัวเด็ก ใบละ 89 บาท x 235 คนเป็นเงิน20,915 บาท 5.ค่าตอบแทนวิทยากร 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน3,000บาท
รวมเงินทั้งสิ้น เป็นเงิน32,715 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้นำชุมชนมีความกระตือรือร้นและให้ความสำคัญเรื่องวัคซีนของเด็ก 0-5 ปี
  2. ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปีรับวัคซีนตามเกณฑ์
  3. อัตราการมารับบริการวัคซีนเด็ก 0-5 ปี เพิ่มขึ้น
  4. อัตราการเกิดโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนลดลง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32715.00

กิจกรรมที่ 2 โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน

ชื่อกิจกรรม
โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.แต่งตั้งคณะทำงานที่มีจากผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. ประชาชนในพื้นที่ เพื่อจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการวัคซีนในชุมชนแก่คณะทำงาน 2.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่คณะทำงาน เพื่อค้นหาปัญหาในพื้นที่ หรือทำประชาคม และหาแนวปฏิบัติที่มีจากคนในชุมชน 3.อบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีน แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์เพื่อสร้างความตระหนักตั้งแต่ก่อนคลอด และกลุ่มผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0-72 เดือน
4.รณรงค์และประชาสัมพันธ์ในชุมชนและตามสถานที่สำคัญๆในชุมชน เช่น ทีทำการผู้ใหญ่บ้าน มัสยิด โรงเรียน ถึงประโยชน์และโทษของการได้รับและไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน พร้อมทั้งกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติ ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ทำไวนิลติดตามสถานที่สำคัญของชุมชน หอกระจายเสียง  โรงเรียน เดินรณรงค์ ฯลฯ  และจัดนิทรรศการ เพื่อเสริมสร้างและสนับสนุนการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างถูกต่อเนื่อง และยั่งยืน 5.จัดบริการค้นหา และฉีดวัคซีนเชิงรุกในชุมชน 6.จัดทำกระเป่าผ้ามีซิปประจำตัวเพื่อใส่สมุดสีชมพูแก่เด็ก 0-2 ปีทั้งหมดจำนวน 235 คนในเขตรับผิดชอบ เพื่อแก้ไขปัญหาสมุดสีชมพูหาย หรือขาด  และเพื่อให้ผู้ปกครองสะดวกในการพาเด็กมารับบริการวัคซีน
7.ติดตามและประเมินผล     1. ติดตามผลการดำเนินงาน     2. ประชุมทีมงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ เพื่อประเมินเรื่องปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการและแนวทางการแก้ไข     3. ติดตามผลงานการรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค และสรุปผลงานทุกเดือน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน •  อัตราป่วยด้วยโรคหัด  ไม่เกิน   8   ต่อประชากรแสนคน •  อัตราป่วยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดไม่เกิน 1  ต่อ ประชากรเด็กแรกเกิด 1,000  คน •  อัตราป่วยโรคคอตีบ ไม่เกิน 0.02  ต่อประชากร 100,000  คน •  อัตราป่วยโรคไอกรน ไม่เกิน 0.08  ต่อประชากร 100,000  คน •  อัตราป่วยโรคไข้สมองอักเสบเจอี   ไม่เกิน 0.25  ต่อ ประชากร 100,000  คน   2. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ครอบคลุมร้อยละ 90
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 32,715.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้นำชุมชนมีความกระตือรือร้นและให้ความสำคัญเรื่องวัคซีนของเด็ก 0-5 ปี
2. ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปีรับวัคซีนตามเกณฑ์
3. อัตราการมารับบริการวัคซีนเด็ก 0-5 ปี เพิ่มขึ้น
4. อัตราการเกิดโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนลดลง


>