กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา รหัส กปท. L4150

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
อสม.รพ.สต.ลากอ
กลุ่มคน
อสม.รพ.สต.บ้านลากอ
3.
หลักการและเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง 72 เดือน เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญ เพราะเด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในอนาคต เด็กที่มีคุณภาพ คือ เด็กที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม มีพัฒนาการสมวัย หากเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ จะส่งผลทำให้เด็กมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งอาจเป็นโรคที่มีความรุนแรงถึงชีวิตได้ บิดา มารดาและครอบครัว คือ บุคคลที่มีบทบาทสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก และสร้างเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่เด็ก หากบิดา มารดาและครอบครัว ขาดความรู้ความเข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก จะส่งผลต่อภาวะสุขภาพของเด็ก กรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข จึงได้กำหนดให้เด็กในแต่ละช่วงอายุควรได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โดยความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในแต่ละช่วงอายุ ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 90

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน • อัตราป่วยด้วยโรคหัด ไม่เกิน 8 ต่อประชากรแสนคน • อัตราป่วยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดไม่เกิน 1 ต่อ ประชากรเด็กแรกเกิด 1,000 คน • อัตราป่วยโรคคอตีบ ไม่เกิน 0.02 ต่อประชากร 100,000 คน • อัตราป่วยโรคไอกรน ไม่เกิน 0.08 ต่อประชากร 100,000 คน • อัตราป่วยโรคไข้สมองอักเสบเจอี ไม่เกิน 0.25 ต่อ ประชากร 100,000 คน 2. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ครอบคลุมร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด : .ความครอบคลุมของวัคซีน MMR ในเด็กต่ำกว่า 1 ปี ร้อยละ 95 2.ความครอบคลุมของวัคซีน MMR ในเด็ก สองปีครึ่ง ร้อยละ 95 3.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ร้อยละ 90 4.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ร้อยละ 90 5.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ร้อยละ 90 6.ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา 75.00 เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน
    รายละเอียด

    1.แต่งตั้งคณะทำงานที่มีจากผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. ประชาชนในพื้นที่ เพื่อจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการวัคซีนในชุมชนแก่คณะทำงาน 2.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่คณะทำงาน เพื่อค้นหาปัญหาในพื้นที่ หรือทำประชาคม และหาแนวปฏิบัติที่มีจากคนในชุมชน 3.อบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีน แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์เพื่อสร้างความตระหนักตั้งแต่ก่อนคลอด และกลุ่มผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0-72 เดือน
    4.รณรงค์และประชาสัมพันธ์ในชุมชนและตามสถานที่สำคัญๆในชุมชน เช่น ทีทำการผู้ใหญ่บ้าน มัสยิด โรงเรียน ถึงประโยชน์และโทษของการได้รับและไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน พร้อมทั้งกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติ ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ทำไวนิลติดตามสถานที่สำคัญของชุมชน หอกระจายเสียงโรงเรียน เดินรณรงค์ ฯลฯและจัดนิทรรศการ เพื่อเสริมสร้างและสนับสนุนการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างถูกต่อเนื่อง และยั่งยืน 5.จัดบริการค้นหา และฉีดวัคซีนเชิงรุกในชุมชน 6.จัดทำกระเป่าผ้ามีซิปประจำตัวเพื่อใส่สมุดสีชมพูแก่เด็ก 0-2 ปีทั้งหมดจำนวน 235 คนในเขตรับผิดชอบ เพื่อแก้ไขปัญหาสมุดสีชมพูหาย หรือขาดและเพื่อให้ผู้ปกครองสะดวกในการพาเด็กมารับบริการวัคซีน
    7.ติดตามและประเมินผล 1. ติดตามผลการดำเนินงาน 2. ประชุมทีมงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ เพื่อประเมินเรื่องปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการและแนวทางการแก้ไข 3. ติดตามผลงานการรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค และสรุปผลงานทุกเดือน จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะหา จำนวน32,715บาทรายละเอียดดังนี้ 1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้นำในชุมชนหรือทำประชาคม - ค่าอาหารกลางวัน40คน x50บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน2,000บาท
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม40คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน2,000บาท 2.ให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีน แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์เพื่อสร้างความตระหนักตั้งแต่ก่อนคลอด และสุ่มกลุ่มผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0-72 เดือน เฉลี่ยในแต่ละหมู่ๆละ 10 คน - ค่าอาหารกลางวัน40คน x50บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน2,000บาท
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม40คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน2,000บาท
    3. ค่าวัสดุป้ายไวนิลชื่อโครงการ 1 ผื่นๆละ 800 บาทเป็นเงิน800 บาท
    4.ค่าจัดทำกระเป่าผ้ามีซิปประจำตัวเด็ก ใบละ 89 บาท x 235 คนเป็นเงิน20,915 บาท 5.ค่าตอบแทนวิทยากร 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน3,000บาท
    รวมเงินทั้งสิ้น เป็นเงิน32,715 บาท

    งบประมาณ 32,715.00 บาท
  • 2. โครงการร่วมกันใส่ใจวัคซีน
    รายละเอียด

    1.แต่งตั้งคณะทำงานที่มีจากผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. ประชาชนในพื้นที่ เพื่อจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการวัคซีนในชุมชนแก่คณะทำงาน 2.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่คณะทำงาน เพื่อค้นหาปัญหาในพื้นที่ หรือทำประชาคม และหาแนวปฏิบัติที่มีจากคนในชุมชน 3.อบรมให้ความรู้ ความสำคัญและความจำเป็นของการได้รับวัคซีน แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์เพื่อสร้างความตระหนักตั้งแต่ก่อนคลอด และกลุ่มผู้ปกครองที่มีบุตรอายุ 0-72 เดือน
    4.รณรงค์และประชาสัมพันธ์ในชุมชนและตามสถานที่สำคัญๆในชุมชน เช่น ทีทำการผู้ใหญ่บ้าน มัสยิด โรงเรียน ถึงประโยชน์และโทษของการได้รับและไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ เรื่อง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน พร้อมทั้งกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติ ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ทำไวนิลติดตามสถานที่สำคัญของชุมชน หอกระจายเสียง  โรงเรียน เดินรณรงค์ ฯลฯ  และจัดนิทรรศการ เพื่อเสริมสร้างและสนับสนุนการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างถูกต่อเนื่อง และยั่งยืน 5.จัดบริการค้นหา และฉีดวัคซีนเชิงรุกในชุมชน 6.จัดทำกระเป่าผ้ามีซิปประจำตัวเพื่อใส่สมุดสีชมพูแก่เด็ก 0-2 ปีทั้งหมดจำนวน 235 คนในเขตรับผิดชอบ เพื่อแก้ไขปัญหาสมุดสีชมพูหาย หรือขาด  และเพื่อให้ผู้ปกครองสะดวกในการพาเด็กมารับบริการวัคซีน
    7.ติดตามและประเมินผล 1. ติดตามผลการดำเนินงาน 2. ประชุมทีมงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ เพื่อประเมินเรื่องปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการและแนวทางการแก้ไข 3. ติดตามผลงานการรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค และสรุปผลงานทุกเดือน

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 32,715.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้นำชุมชนมีความกระตือรือร้นและให้ความสำคัญเรื่องวัคซีนของเด็ก 0-5 ปี
  2. ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปีรับวัคซีนตามเกณฑ์
  3. อัตราการมารับบริการวัคซีนเด็ก 0-5 ปี เพิ่มขึ้น
  4. อัตราการเกิดโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนลดลง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา รหัส กปท. L4150

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา รหัส กปท. L4150

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 32,715.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................