กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค รหัส กปท. L5177

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการสมองดีเริ่มที่ไอโอดีน สุขภาพดีเริ่มที่อาหารปลอดภัย ชุมชนแคห่วงใย สร้างคนไทยสุขภาพดี ประจำปี 2562
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานของหมู่บ้านแคใต้ (งานกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค)
กลุ่มคน
1.นางสิตีอามีเด๊าะ สาแหม
2.นางหลีหม๊ะ หวังหะ
3.นางมุริฝ๊ะ หมาดวัง
4.นางส.อ. บูสอ
5.นางอามิเน๊าะ หมัดเล๊าะ
3.
หลักการและเหตุผล

โรคขาดสารไอโอดีนเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ การที่ประชาชนขาดสารไอโอดีนจะบั่นทอนคุณภาพชีวิตโดยรวมซึ่งมีผลต่อการพัฒนาศักยภาพประเทศอย่างยิ่ง นอกจากนั้นผู้ที่ได้รับสารไอโอดีนไม่เพียงพอ นอกจากจะมีอาการของโรคคอพอกแล้วยังมีผลทำให้ร่างกายและสมองเติบโตด้อยลง รูปร่างเตี้ย แคระแกรน ความฉลาดทางสติปัญญาด้อยกว่าปกติ ถ้าหญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน ลูกที่คบอดมามีโอกาสปัญญาอ่อน เป็นใบ้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้หรือที่เรียกว่าโรคเอ๋อ ในการแก้ปัญหาการขาดสารไอโอดีน กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินโครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2508 โดยการส่งเสริมการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนหรือเกลืออนามัย การบริโภคน้ำดื่มเสริมไอโอดีนในครัวเรือนและในโรงเรียน การบริโภคน้ำปลาเสริมไอโอดีนและในพื้นที่ที่มีอัตราผู้ป่วยด้วยโรคขาดสารไอโอดีนสูงจะให้รับประทานยาเม็ดเสริม ถึงกระนั่นปัญหาการขาดสารไอโอดีนยังไม่ลดลงเท่าที่ควร ดังจะเห็นได้จากการสำรวจขาดสารไอโอดีนในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เมื่อพ.ศ. 2543-2547 พบความชุกของการขาดสารไอโอดีนร้อยละ 34.5,45.0,47.0และ49.5 ตามลำดับ และยังพบว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภาคเดียวที่มีค่ามัธยฐานไอโอดีนในปัสสาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ร้อยละ 10) ปัจจุบันพบว่า ประชาชนไทยในทุกภาคของประเทศยังประสบปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนระดับความรุนแรงต่างๆและปัญหาดังกล่าวไม่อาจขจัดให้หมดไปได้ ต้องมีการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันตลอดเวลา เพราะหากประชาชนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการบริโภคอาหารที่มีสารไอโอดีนให้เพียงพอ
และปัญหาสำคัญที่มีผลต่อสุขภาพของคนไทยคือปัญหาการบริโภคอาหารไม่ปลอดภัย ปัจจุบันอาหารที่มีวางจำหน่ายในตลาดมักมีสารเคมีและวัตถุที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพเป็นจำนวนมาก ซึ่งประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างง่ายดาย ส่งผลให้เกิดอันตรายต่อประชาชนในพื้นที่ กลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคบ้านแคใต้ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแค ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลแค และองค์การบริหารส่วนตำบลแค ได้เล็งเห็นความสำคัญในการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน โดยเฉพาะกลุ่มประชากร 3 กลุ่มหลัก คือหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มเด็ก 0-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและกลุ่มเด็กนักเรียนชั้นประถม 1-6 อายุ 6-12 ปี เพื่อเป็นการควบคุมป้องกันการขาดสารไอโอดีนในกลุ่มดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง และต้องการให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการเลือกซื้ออาหาร การเลือกซื้อยา มีการใช้อย่างสมเหตุผล จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพิ่มความตระหนักรู้ของประชาชนถึงความสำคัญของสารไอโอดีนที่บริโภคในครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสารไอโอดีนที่บริโภคในครัวเรือนมากขึ้น
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 20.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดอบรมให้นักเรียนกิจกรรมอย.น้อย รุ่นที่1
    รายละเอียด

    จัดอบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนกิจกรรม อย.น้อย จำนวน 30 คน โดยให้ความรู้เรื่องงานคุ้มครองผู้บริโภค การเลือกซื้ออาหาร การดูฉลากสินค้า การให้ความรู้เรื่องสารไอโอดีน การทดสอบเกลือเพื่อดูปริมาณไอโอดีน โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน คนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน คนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชม. ชม.ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 4.ค่าอาหารกลางวันคณะทำงานและวิทยากร จำนวน 10 คน คนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท 5.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะทำงานและวิทยากร จำนวน 10 คน คนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท รวมเป็นเงิน 5,800 บาท

    งบประมาณ 5,800.00 บาท
  • 2. จัดอบรมให้ความรู้แก่อสม.ครูพี่เลี้ยงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและหญิงมีครรภ์ รุ่นที่ 2
    รายละเอียด

    จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มอสม. จำนวน 37 คน ครูศพด.มัสยิดคูแค จำนวน 1 คน หญิงมีครรภ์ จำนวน 8 คน รวมทั้งสิ้น 46 คน โดยให้ความรู้เรื่องงานคุ้มครองผู้บริโภค การเลือกซื้ออาหาร การดูฉลากสินค้า การให้ความรู้เรื่องสารไอโอดีน การทดสอบเกลือเพื่อดูปริมาณไอโอดีน โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 46 คน คนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,300 บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 46 คน คนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,300 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชม. ชม.ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 4.ค่าอาหารกลางวันคณะทำงานและวิทยากร จำนวน 10 คน คนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท 5.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะทำงานและวิทยากร จำนวน 10 คน คนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 7,400 บาท

    งบประมาณ 7,400.00 บาท
  • 3. ประชุมชี้แจงโครงการ
    รายละเอียด

    ประชุมชี้แจงและประชาสัมพันธ์โครงการ เพื่อดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการ จำนวน 25 คน โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท 2.ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท 3.ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โรคไอโอดีนและงานคุ้มครองผู้บริโภค เป็นเงิน 5,000 บาท 4.ค่าวัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 9,000 บาท

    งบประมาณ 9,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.แค 5 หมู่บ้าน (รวมถึงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค โรงเรียนบ้านแค โรงเรียนบ้านทุ่งครก โรงเรียนดำรงศาสตร์วิทยา)

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 22,200.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ทุกโรงเรียนในเขตรับผิดชอบได้มีการแนะนำการใช้เกลือเสริมไอโอดีนปรุงอาหารกลางวันเป็นประจำ 2.เกิดเครือข่ายอย.น้อยในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน 3.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของสรไอโอดีน 4.หญิงมีครรภ์ในเขตรับผิดชอบได้รับสารไอโอดีนเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย 5.อัตราโรคคอพอกในเด็กประถมศึกษาไม่เกินร้อยละ 0.5 6.อสม.และแกนนำสุขภาพมีความรู้เรื่องโรคขาดสารไอโอดีนและงานคุ้มครองผู้บริโภค

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค รหัส กปท. L5177

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค รหัส กปท. L5177

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 22,200.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................