2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ปัจจุบันผู้สูงอายุของประเทศไทย เพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็วส่งผลให้ประชากรไทยเข้าสู่ภาวะประชากรผู้สูงอายุอันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพและเกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมทั้งต่อตัวผู้สูงอายุ ครอบครัว และประเทศชาติ จากที่รัฐบาลมีนโยบายและมีการดำเนินงาน ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตชองประชาชน เพื่อให้คนไทยมีความเข้มแข็ง มีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ โดยเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ แต่ไม่สามารถไปรับการตรวจรักษาได้ทั่วถึงเพราะมีปัญหาและอุปสรรคในการคมนาคมและงบประมาณที่จะไปรับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาล ฉะนั้นเพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีสร้างสรรค์กิจกรรมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพสร้างสุขภาพให้กับตนเองเพื่อนสมาชิกชุมชนและสังคมด้วยคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นผู้สูงอายุ
ดังนั้นเพื่อ ให้การดำเนินงานการสร้างสุขภาพตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุข เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุดชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านต้นไทร ตำบลนาโหนด อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ.2ส.ในผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ ๒๕๖2
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/04/2019
กำหนดเสร็จ 04/04/2019
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?๑. ผู้สูงอายุ อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน 600 คนมี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแล สุขภาพในวัยผู้สูงอายุได้ถูกต้อง
๒. ผู้สูงอายุ อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน600คน ได้รับการตรวจสุขภาพประเมินกิจวัตรประจำวัน อย่างน้อยร้อยละ 80 จำนวน 480 คน
๓. ผู้สูงอายุ อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ที่พบเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยน การดูแลและการส่งต่ออย่างถูกต้องตามระบบ ทุกคน