กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง รหัส กปท. L3032

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุ ปี 2562
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
กลุ่มคน
1. นายแซะห์อับดุลเราะห์ อาเย๊าะแซ
2. นายเอกบดินทร์ จาลงค์
3. นางอังคณา ตาเละ
4. นางสาวต่วนมัสรา ตอแก
5. นางสาววิมลมาศ ทองใหญ่
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันจะพบว่านานาประเทศทั่วโลกต่างกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และมีแนวโน้มจะกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในอีกไม่ช้า นับว่าเป็นความท้าทายที่แทบทุกประเทศทั่วโลกต้องเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยการเปลี่ยนแปลงโครงการสร้างประชากรดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบทั้งต่อเศรษฐกิจและสังคมในประเทศ ปัจจุบันจำนวนประชากรผู้สูงอายุของโลกสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยจำนวนประชากรผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ประเทศไทยเป็นอีกหนึ่งประเทศที่เข้าข่ายปัญหาสังคมผู้สูงอายุ ประเทศกำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงและเตรียมพร้อมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี และใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขเป็นเรื่องสำคัญ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปลี่ยนจากครอบครัวขยาย (Extend Family) ไปสู่ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family) ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลง จำนวนผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยวและดำเนินชีวิตเพียงลำพัง
สภาพสังคมเปลี่ยนไป ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมปัจจุบันทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจและค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยผู้สูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงานมีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้นมีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสียสิ่งสำคัญของชีวิต เช่น การสูญเสียคู่ชีวิต เพราะตายจากการสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว การสูญเสียตำแหน่งหน้าที่การงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ หากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งทำให้ผู้สูงอายุว้าเหว่ มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ การสร้างสุขภาวะตามแนวทางของสำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งขออ้างเอกสารประกอบการอบรมของ ผศ.ดร.ภก.พงศ์เทพสุธีรวุฒิ ได้ให้ความหมายของระบบสุขภาพ ได้ว่า “ระบบสุขภาพ หมายความว่า ระบบความสัมพันธ์และการจัดการทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ระบบสุขภาพเป็นระบบความสัมพันธ์แบบองค์รวมเชื่อมโยงองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอย่างสมดุล ไม่ใช่การมองเฉพาะจุดใดจุดหนึ่ง เช่น มองเฉพาะคน หรือมองเฉพาะโรคทางการแพทย์ แต่จะต้องมองไปถึงสังคมคุณภาพชีวิตมิติอื่นๆ เป็นต้น การดำเนินงานเพื่อนำไปสู่สุขภาวะ จึงเป็นบทบาทของทุกคน ทุกภาคี ทุกหน่วยงาน”
มิติสุขภาวะ หมายถึง การมองถึงสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคมและสุขภาวะทางปัญญาซึ่งสอดคล้องกับโครงการสร้างเสริมสุขภาวะแก่ผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ทางด้านการส่งเสริมสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคมและสุขภาวะทางปัญญา ให้สอดคล้องกับแนวทางอัลอิสลามซึ่งศาสดามูฮำหมัด (ซล.)ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ให้สามารถดำรงชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องส่งผลให้ มีสุขภาพสมบูรณ์ตามควรแก่วัย จังหวัดปัตตานีมีแนวโน้มผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นทุกปี โดยพิจารณาจากข้อมูลสำรวจการวิเคราะห์สถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 – 2560 พบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุในจังหวัดปัตตานีมีอัตราเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในปี 2556 จำนวนผู้สูงอายุ 77,086 คน(ร้อยละ 11.36), ในปี 2557 จำนวนผู้สูงอายุ 78,775 คน (11.48), ในปี 2558 จำนวนผู้สูงอายุ 80,223 คน (11.56), ในปี 2559 จำนวนผู้สูงอายุ 80,742 คน (11.52)และในปี 2560 มีจำนวนผู้สูงอายุ 81,956 คน (11.55) ตามลำดับ ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มบุคคลที่ควรรักษาและทำนุบำรุงดูแลให้มีชีวิตที่ดีตามวัยของผู้อาวุโส ตำบลยะรังมีแนวโน้มผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นทุกปี ตำบลยะรังมีผู้สูงอายุ60 ปีขึ้นไป จำนวน605คน ซึ่งเป็นแนวโน้มผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นทุกปี
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรัง ได้เล็งเห็นความสำคัญต่อผู้สูงอายุ ซึ่งถือว่าเป็นบุคคลที่มีคุณค่าควรแก่การรักษาและทำนุบำรุงดูแลให้มีชีวิตที่ดีตามวัยของผู้อาวุโส จึงได้จัดทำโครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองตลอด เปิดพื้นที่แสดงศักยภาพภูมิความรู้ ให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น ตลอดจนยอมรับการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ สนใจบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น และยังเป็นการตอบสนองเจตนารมณ์ของผู้บริหารในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อย่างไรก็ตามการดำเนินงานดังกล่าวมีการบูรณาการแบบมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในกระบวนการเพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรังอย่างเป็นองค์รวมโดยสิ่งที่สำคัญที่สุดคือสุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสังคม และสุขภาพปัญญา ด้วยเหตุดังกล่าว ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรัง จึงได้เห็นความสำคัญและขอเป็นส่วนหนึ่งในการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงอายุตำบลยะรัง ปีงบประมาณ2562

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ส่งเสริมการเรียนรู้โภชนาการผู้สูงวัย
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 750 คน ๆ ละ 50 บาท/มื้อ
                                                  เป็นเงิน  37,500.  บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ ดำเนินงาน จำนวน 750 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ
                                                  เป็นเงิน  37,500.  บาท
    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท
                                                      เป็นเงิน  3,600  บาท
    • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.5 × 6 เมตร จำนวน 1 ผืน
                                                      เป็นเงิน 2,400  บาท
    • ค่าเช่าเก้าอี้ จำนวน  750 ตัวๆละ  6 บาท                                               เป็นเงิน  4,500  บาท รวม  85,500.00บาท
    งบประมาณ 85,500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 11 เมษายน 2562 ถึง 11 เมษายน 2562

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 85,500.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ผู้สูงอายุและประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่มีความเหมาะสมแก่ผู้สูงวัย และในความรู้ไปปรับใช้กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารในชีวิตประจำวัน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง รหัส กปท. L3032

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง รหัส กปท. L3032

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 85,500.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................