กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูก และโรคมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน

รพ.สต.นาทอน

นางหทัยกาญจน์ สันมาหมีน

ตำบลนาทอน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสถานการณ์โรคมะเร็งปากมดลูก พบว่าเป็นอันดับที่ ๒ ของมะเร็งที่พบในสตรีทั่วโลก รองจากมะเร็งเต้านม แต่ละปีมีสตรีทั่วโลกกว่า ๕ แสนคนต่อปี เป็นโรคนี้ และร้อยละ ๘๐ เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา แต่สำหรับประเทศไทย พบว่าโดยส่วนใหญ่มักจะเกิดในผู้หญิงวัยกลางคนอายุระหว่าง ๓๕-๕๕ ปี ในแต่ละปีมีการตรวจพบมะเร็งปากมดลูกรายใหม่กว่า ๖,๐๐๐ ราย และมีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ ๒,๖๐๐ รายต่อปี กล่าวได้ว่าทุกๆวันจะมีสตรีไทยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกถึง ๗ คนนับ เป็นปัญหาสำคัญของสาธารณสุขไทย จากการศึกษาวิจัยพบว่า โรคมะเร็งปากมดลูกเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี (human Papilloma virus หรือ HPV) สายพันธุ์ที่ ๑๖ และ ๑๘การติดเชื้อ ร้อยละ ๘๕ เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ ร้อยละ๑๕ เกิดจากการสัมผัสแล้วเชื้อเข้าไปในเยื่อบุของอวัยวะเพศ หรือปากมดลูกมีรอยถลอกหรือแผลที่ทำให้เชื้อเข้าไปได้ ดังนั้น แม้ว่าไม่เคยผ่านการมีเพศสัมพันธ์มาก่อนก็มีโอกาสเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อเอชพีวีเชื้อ ไวรัส ชนิดนี้แบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มความเสี่ยงต่ำ ทำให้เกิดโรคหูดหงอนไก่ที่อวัยวะเพศ และรอยโรคขั้นต่ำส่วนกลุ่มความเสี่ยงสูงเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื่อปากมดลูกจนกลายเป็นรอยโรคขั้นสูงและมะเร็งในที่สุด โดยกระบวนการเกิดมะเร็งปากมดลูกใช้เวลาเฉลี่ย ๕–๑๕ปี พบว่าสตรีที่ติดเชื้อไวรัส กลุ่มความเสี่ยงสูง มีโอกาสที่จะเกิดมะเร็งปากมดลูกสูงถึง ๔๐๐ เท่า เมื่อเทียบกับสตรีที่ไม่พบการติดเชื้อดังกล่าว อย่างไรก็ตาม การติดเชื้อดังกล่าวอาจจะหายเองได้ด้วยระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ในกรณีที่การติดเชื้อยังคงอยู่ หรือฝังแน่นที่ปากมดลูกก็จะมีการพัฒนาไปเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ เนื่องจากโรคนี้มีระยะก่อน มะเร็งให้ตรวจพบได้ ดังนั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ที่เรียกว่าการทำแป๊ปสเมียร์ (Pap smear) จะทำให้พบระยะก่อนมะเร็ง และมะเร็งระยะเริ่มแรก ช่วยให้สามารถรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดมะเร็งปากมดลูกได้ตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้มีนโยบายส่งเสริมสุขภาพในการคัดกรอง
โรคมะเร็งปากมดลูก ในสตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี ใน ๗๕ จังหวัด ทั่วประเทศ และในการลดอุบัติการณ์และอัตราตายจากมะเร็งปากมดลูกของสตรีนั้นต้องมีการคัดกรองให้ครอบคลุมประชากรกลุ่มดังกล่าวให้มากที่สุด โดยต้องทำซ้ำทุก ๕ ปี โดยมีแผนการป้องกันและควบคุมมะเร็งแห่งชาติตั้งแต่ปี ๒๕๔๑ซึ่งมีเป้าหมายว่าจะลดอัตราตายของสตรีไทยจากมะเร็งปากมดลูกลง ๕๐ % ภายในระยะเวลา ๕ ปี ซึ่งจากการดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเริ่มตั้งแต่ปี ๒๔๙๕ โดยวิธี Papanicolaou (Pap smears)และได้ดำเนินการต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันยังไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายยังพบว่าโรคมะเร็งปากมดลูกยังเป็นปัญหาสำคัญและอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งปากมดลูกยังไม่ได้ลดลงในสตรีไทยปัจจุบันการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสามารถทำได้โดยวิธี Papanicolaou (Pap smears)คือการค้นหาเนื้อเยื่อ(cell)ผิดปกติ ที่เปลี่ยนแปลงปากมดลูก ถ้าเซลล์ผิดปกติเหล่านี้ไม่ได้รับการรักษา อาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์มะเร็งปากมดลูกได้ ซึ่งใช้เวลา ๕-๑๐ ปี ถ้ามีภาวะเสี่ยงก็อาจเกิดอาการเร็วขึ้นการคัดกรองไม่ได้ถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์แต่ก็สามารถที่จะช่วยป้องกันจะช่วยป้องกันมะเร็งปากมดลูกส่วนใหญ่ได้ ถ้าสามารถค้นหาเซลล์ผิดปกติก่อนที่จะกลายเป็นเซลล์มะเร็งชนิดสแควร์มัส(Scquamous Cell Carcinoma)ซึ่งเป็นชนิดที่พบมากที่สุดของมะเร็งปากมดลูก ส่วนเซลล์ผิดปกติที่อยู่ในรูเปิดของปากมดลูก (Endocervical) จะพบน้อย (ประมาณร้อยละ ๒๐)และเซลล์ที่ผิดปกตินี้จะกลายเป็นมะเร็งปากมดลูกชนิด Adenocarcinomaถ้าผลการตรวจคัดกรองพบว่าเซลล์ที่ปากมดลูกมีความผิดปกติ และมีข้อบ่งชี้ว่ารักษาโดยการจี้ด้วยความเย็นหรือต้องพบแพทย์เพื่อตรวจโดยวิธีอื่นต่อไป เพื่อค้นหาความผิดปกติอื่นเพื่อแนะนำการรักษาที่ดีที่สุดและสามารถลดงบประมาณในการรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วย และเพื่อให้การดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย ๓๐-๖๐ปีของ รพ.สต.นาทอน โดยวิธีPapanicolaou (Pap) smears ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย ในปี ๒๕๕2ซึ่งการดเนินการคัดกรองให้ได้ตามเกณฑ์ชี้วัดในระดับจังหวัดให้ได้ร้อยละ ๒๕โดยจะจัดประชาสัมพันธ์โดยผ่าน อสม.สาธารณสุข หอกระจายข่าว และรณรงค์การให้บริการอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน จึงได้จัดการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ภายใต้โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี และโรคมะเร็งเต้านมในกลุ่มอายุ๓๐-๗๐ปี ในปีงบประมาณ ๒๕๖2 ขึ้นโดยตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Papanicolaou (Pap) smears ในกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี และตรวจเต้านมด้วยตนเองในกลุ่มอายุ๓๐-๗๐ปีเพื่อส่งเสริมให้ผู้หญิงไทยได้รับการตรวจหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมครอบคลุมสตรีกลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกก่อนการตรวจคัดกรอง

สตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกก่อนการตรวจคัดกรอง ร้อยละ ๑๐๐

0.00
2 2. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๗๐ ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมก่อนตรวจเต้านมด้วยตนเอง

สตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๗๐ ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมก่อนตรวจเต้านมด้วยตนเอง ร้อยละ ๑๐๐

0.00
3 3. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

สตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม 5 ปี ร้อยละ ๘๐

0.00
4 4. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๗๐ ปีตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี

สตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๗๐ ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี ร้อยละ ๙๐

0.00
5 5. ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติในระยะก่อนเป็นมะเร็งได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องพร้อมได้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพ

ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติในระยะก่อนเป็นมะเร็งได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องพร้อมได้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพ ร้อยละ ๑๐๐

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ

ชื่อกิจกรรม
เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์โครงการผ่าน อสม. แกนนำ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาหอกระจายข่าวและคลื่นวิทยุชุมชน เพื่อรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองในตำบลนาทอน

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์โครงการผ่าน อสม. แกนนำ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาหอกระจายข่าวและคลื่นวิทยุชุมชน เพื่อรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองในตำบลนาทอน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขทั้งตำบลในพื้นที่ดำเนินโครงการและจัดทำหนังสือประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายให้ อสม. ทุกคนเพื่อร่วมประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชน หอกระจายข่าว

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขทั้งตำบลในพื้นที่ดำเนินโครงการและจัดทำหนังสือประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายให้ อสม. ทุกคนเพื่อร่วมประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชน หอกระจายข่าว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีกลุ่มเป้าหมายให้ประธาน อสม.แต่ละหมู่เพื่อแจ้งให้อสม.แต่ละคนติดตามกลุ่มเป้าหมายในหลังคาเรือนที่รับผิดชอบมารับบริการตรวจคัดกรอง และติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไปรับบริการที่สถานบริการอื่น

ชื่อกิจกรรม
จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีกลุ่มเป้าหมายให้ประธาน อสม.แต่ละหมู่เพื่อแจ้งให้อสม.แต่ละคนติดตามกลุ่มเป้าหมายในหลังคาเรือนที่รับผิดชอบมารับบริการตรวจคัดกรอง และติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไปรับบริการที่สถานบริการอื่น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 จัดอบรมให้ความรู้เพื่อฟื้นฟูศักยภาพในการดำเนินงานด้านการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านมแก่ อสม.จำนวน 63 คน

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้เพื่อฟื้นฟูศักยภาพในการดำเนินงานด้านการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านมแก่ อสม.จำนวน 63 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารกลางวันของผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 63 X 60 บาท เป็นเงิน 3,780
-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มของผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 63 X 2 มื้อ X 20 บาท เป็นเงิน 2,520
-ค่าไวนิลเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมพร้อมขาตั้ง จำนวน 2ชุด เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9300.00

กิจกรรมที่ 6 ส่งหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมาย เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน

ชื่อกิจกรรม
ส่งหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมาย เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 7 จัดอบรมให้ความรู้ก่อนตรวจมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี จำนวน ๑๗5 คน (แบ่งออกเป็น 5 รุ่น รุ่นละ 35 คน)

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้ก่อนตรวจมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี จำนวน ๑๗5 คน (แบ่งออกเป็น 5 รุ่น รุ่นละ 35 คน)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารกลางวันของผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 175 X 60 บาท เป็นเงิน 10,500
-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องของผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 175 X 2 มื้อ X 20 บาท เป็นเงิน 7,000
-ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 2,500 บาท
-ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20500.00

กิจกรรมที่ 8 การดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

ชื่อกิจกรรม
การดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 9 ทีมสุขภาพติดตามเยี่ยมและให้คำแนะนำการความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข

ชื่อกิจกรรม
ทีมสุขภาพติดตามเยี่ยมและให้คำแนะนำการความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 10 สรุปและรวบรวมผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
สรุปและรวบรวมผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 29,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.สตรี ในกลุ่มอายุ๓๐-๖๐ ปี ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ๕ ปี ร้อยละ ๘๐
๒.สตรี ในกลุ่มอายุ๓๐-๗๐ ปี ได้รับบริการตรวจเต้านมด้วยตนเองร้อยละ ๙๐
๓.ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้องพร้อมได้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพร้อยละ ๑๐๐
๔. บุคคลในครอบครัวร่วมดูแลและพาสตรีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมากขึ้น


>