กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการสุขภาพดีด้วยซั้งกอ สร้างบ้านให้ปลา อ่าวปากบารา ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
สมาคมชาวประมงพื้นบ้านตำบลปากน้ำ
กลุ่มคน
1.นายกัมพลถิ่นทะเล
2.นายม่าเบ็ญอาหมัน
3.นายบาฉ้นนุ้ยไฉน
4.นางสาวฮาสานะห์เกะมาซอ
5.นางนุซุรางะสมัน
3.
หลักการและเหตุผล

อ่าวปากบาราเป็นบริเวณทะเลนับจากเกาะตะรุเตาเข้ามาประชิดฝั่งแผ่นดินใหญ่ เป็นพื้นที่ ที่มีฐานทรัพยากรทางทะเลอุดมสมบูรณ์ในทะเลแถบอันดามันของไทย มีระบบนิเวศน์ทะเลชายฝั่ง ที่มีลักษณะ เฉพาะ บริเวณปากแม่น้ำที่อุดมสมบูรณ์ก่อให้เกิดแหล่งอาหาร และอนุบาลสัตว์น้ำ มีเกาะแก่งขนาบ ทั้งด้านเหนือ ด้านใต้ และด้านตะวันตก มีร่องน้ำเดินเรือ มีทั้งแหล่งปะการังธรรมชาติ และปะการังเทียม ในบริเวณอ่าวปากบารา
ปัจจุบันการประมงแบบหลากหลายวิธี ทั้งเรือประมงพาณิชย์ และเรือประมงพื้นบ้าน ที่มีการใช้ เครื่องมือจับสัตว์น้ำที่ทันสมัย ทำให้จำนวนประชากรสัตว์น้ำลดลงอย่างเห็นได้ชัด ข้อมูลจากประมงพื้นบ้าน กล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า ปริมาณที่จับสัตว์น้ำลดลง ออกเรือหาปลาแต่ละครั้งก็ต้องก็ได้ ปริมาณลดลงมาก และต้องออกหาปลาไกลขึ้น ใช้เชื้อเพลิงน้ำมันออกเรือปริมาณมากขึ้น ออกเรือหาปลาใช้เวลานานขึ้น บางทีในการ ออกเรือแต่ละครั้งค่าน้ำมันเรือกับจำนวนปลาที่ได้ก็ขาดทุน ชาวประมงพื้นบ้านได้เห็นผลกระทบดังกล่าว จึงได้เกิดความร่วมมือกันจากหลายชุมชนโดยรอบอ่าวปากบารา เริ่มทำกิจกรรมฟื้นฟูสัตว์น้ำในหลากหลาย วิธี เช่น กิจกรรมธนาคารปู การกำหนดเขตอนุรักษ์สัตว์น้ำร่วมกัน การวางซั้งกอหรือบ้านปลาเพื่อสร้างแหล่ง หลบภัยให้ ฝูงปลา โดยเฉพาะในช่วงหน้ามรสุม บ้านปลายังเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำตัวอ่อนอีกด้วยภายใต้ การรวมกลุ่มกัน “สมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ” เพื่อรวมเครือข่ายชาวบ้านทำกิจกรรมอนุรักษ์ ให้ต่อเนื่องและยั่งยืน การวางซั้งกอหรือสร้างบ้านให้ปลา เป็นกิจกรรมที่ประชาชนสามารถใช้กล้ามเนื้อของร่างกายในการสร้างซังกอ เสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง และสามารถเพิ่มปริมาณสัตว์น้ำและสามารถป้องกันการใช้เครื่องมือประมงผิดกฎหมายที่จะรุกเข้ามาในเขตพื้นที่การประมงพื้นบ้านได้ด้วย นอกจากนี้ การกำหนดพื้นที่วางซั้งกอ ทำให้ชาวบ้านในชุมชนได้รับประโยชน์ เนื่องจาก ทำให้ชาวบ้านสามารถออกไปจับปลา มาประกอบอาหารในครัวเรือน ได้สัตว์น้ำที่ปลอดภัยทำให้ส่งผลดีต่อสุขภาพ ปลอดจากสารฟอร์มาลีน และสารเคมีต่างๆ สมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ จึงได้ร่วมกันรณรงค์ให้ชุมชนตลอดจนผู้เกี่ยวข้องได้ร่วมบริหารจัดการ ทรัพยากรชายฝั่งพื้นที่อ่าวปากบาราอย่างมีส่วนร่วมเพื่อความรักษาความมั่นคงทางอาหารของโลก และสามารถ รักษาทรัพยากรชายฝั่งให้อุดมสมบูรณ์ยั่งยืนสู่รุ่นลูกหลานสืบไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัยจากการสร้างซังกอ
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายในการสร้างซังกอ
    ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. เวทีสร้างความเข้าใจและให้ความรู้ประชาชนและคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมการวางซั้งกอ ในอ่าวปากบาร
    รายละเอียด

    1.1 ประชุมคณะกรรมการสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ รายละเอียดค่าใช้จ่าย - ค่าอาหารว่าง 20คน x 35บาท x 1 ครั้ง = 1,400 บาท กำหนดการประชุมคณะกรรมการสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ 13.00 – 13.30น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม 13.30- 14.00น. ประชุมคณะกรรมการสมาคมฯ ชี้แจงรายละเอียดโครงการ ฯ โดย นายกัมพล ถิ่นทะเล นายกสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ 14.00 – 15.30 น. ออกแบบเวทีการอบรม ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของคนในชุมชน 15.30 – 16.00 น.สรุปผลการประชุม

    1.2 เวทีให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของคนในชุมชน รายละเอียดค่าใช้จ่าย
    - ค่าอาหารว่าง 40คน x 35บาท x 1 ครั้ง =2,800 บาท กำหนดการเวทีให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของคนในชุมชน
    13.00 – 13.30น.ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
    13.30 - 14.30น.เวทีให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย นายกัมพล ถิ่นทะเล นายกสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ อำเภอละงูจังหวัดสตูล
    14.30 – 15.00 น. สาธิตวิธีการทำซั้งกอ ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
    โดย นายม่าเบ็ญ อาหมัน สมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ
    15.00 – 16.00 น. สรุปเวทีและแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น

    งบประมาณ 4,200.00 บาท
  • 2. กิจกรรมการมีส่วนร่วม เตรียมอุปกรณ์ทำซั้งกอหรือบ้านปลา
    รายละเอียด
    1. กิจกรรมส่วนร่วมในชุมชนสัมพันธ์ในการให้ชาวบ้าน ร่วมเตรียมอุปกรณ์ เตรียมไม้ไผ่ ถักทางมะพร้าว ตัดเชือก และหล่อปูน รวมไปถึงการขนของขึ้นเรือ
      รายละเอียดค่าใช้จ่าย -ค่าอาหาร 40 คน x 100 บาทx 1 มื้อ = 4,000 บาท -ค่าอาหารว่าง 40 บาท x 35 คน x 2 มื้อ= 2,800บาท รายละเอียดค่าวัสดุอปกรณ์
      -ไม้ไผ่จำนวน 100 ต้น x 200 บาท= 20,000 บาท -ทางมะพร้าวจำนวน1,200ทาง x 15 บาท=18,000 บาท -หินถ่วงจำนวน100 ก้อน x 150 บาท=15,000บาท -เชือกขนาด 14 มิลลิเมตร จำนวน 30กก.x 120 บาท =3,600 บาท -เชือกเหลืองขนาด 4 มิลลิเมตร จำนวน 3 กก x 130 บาท= 390บาท
      กำหนดการกิจกรรมการมีส่วนร่วม เตรียมอุปกรณ์ทำซั้งกอหรือบ้านปลา
      ลงทะเบียนการเตรียมอุปกรณ์
      8.00- 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม 11.00 – 11.30 น. กิจกรรมส่วนร่วมในชุมชนสัมพันธ์ในการให้ชาวบ้านเตรียมอุปกรณ์ พร้อมสาธิตวิธีการทำ 11.30 – 16.00 น. กิจกรรมส่วนร่วมในชุมชนสัมพันธ์ในการให้ชาวบ้านเตรียมอุปกรณ์ พร้อมปฏิบัติจริง
      ทีมที่ 1 ร่วมเตรียมอุปกรณ์ เตรียมไม้ไผ่ ถักทางมะพร้าว
      ทีมที่ 2 วัดเชือกและตัดเชือก
      ทีมที่ 3 หล่อปูนสำหรับทำลูกถ่วง
      ผู้รับผิดชอบ นายบาฉ้น นุ้ยไฉน
    งบประมาณ 63,790.00 บาท
  • 3. กิจกรรมคืนบ้านให้ปลาสู่ท้องทะเล ประชาชนร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ
    รายละเอียด

    3.1 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ในการทำซั้งกอหรือบ้านปลา จำนวน 100 ต้น โดยใช้วัสดุ อุปกรณ์ ได้แก่ ปูนแบบผสมเสร็จ หล่อให้เป็นแท่งปูนสี่เหลี่ยม 36 x 59 x 33 นิ้ว เพื่อทำเป็นฐานถ่วงน้ำหนัก ลงสู่ก้นทะเลน้ำตื้น และใช้เชือกขนาด 10 มิลลิเมตร ผูกติดระหว่าง แท่นปูนและท่อนไม่ไผ่และใช้เชือกขนาด 4 มิลลิเมตรผูกระหว่างท่อนกับใบทางมะพร้าว และใช้เรือประมงพื้นบ้านนำไปทิ้งตามพิกัดที่เรากำหนดไว้ - ค่าเรือ 5 ลำ x 3 ครั้ง x 1,500 บาท=22,500 บาท - ค่าอาหาร 20 คน x 3 ครั้ง x 100 บาท=6,000 บาท - ค่าอาหารว่าง 35 บาท x 20 คน 2 มื้อ x 3 ครั้ง = 4,200 บาท กำหนดการ
    07.00 – 08.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 08.00 – 09.00 น. กิจกรรมส่วนร่วมในชุมชนสัมพันธ์ในการให้ชาวบ้าน เตรียมเรือไว้ที่ท่าเรือ ขนย้ายวัสดุอุปกรณ์ขึ้นเรือ (ทางมะพร้าว ไม้ไผ่ หินถ่วง) 09.00 – 15.00 น. นำวัสดุอุปกรณ์(ทางมะพร้าว ไม้ไผ่ หินถ่วง) มาผูกไว้เป็นต้นๆ นำไปวางไปตามพิกัดทีได้กำหนดไว้ 15.00 – 16.00 น. นำเรือเข้าฝั่ง

    งบประมาณ 32,700.00 บาท
  • 4. กิจกรรมสรุปหลังสร้างบ้านปลา
    รายละเอียด

    4.1 จัดการประชุมชุมชนร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ เพื่อวางแผนการติดตามความอุดมสมบูรณ์ที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งสรุปงานเพื่อวางแผน ในปีถัดไป รายละเอียดค่าใช้จ่าย
    -ค่าเอกสาร 50 ชุด x 20 บาท = 1,000 บาท -ค่าอาหารว่าง 40 คน x 35 บาท x 2 มื้อ =2,800 บาท -ค่าอาหารเที่ยง 40 คน x 100 บาท x 1 มือ = 4,000 บาท กำหนดการ
    09.00 – 09.30 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 09.30 – 11.00 น. นำเสนอผลการดำเนินโครงการการว่างซั้งกอในอ่าวปากบารา โดย นายกัมพลถิ่นทะเล นายกสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ
    11.00 – 12.00 น. แลกเปลี่ยนการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ซั้งกอ โดยสมาชิกสมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ 13.00 – 15.00 น. ออกแบบและวางแผนการติดตามความอุดมสมบูรณ์ที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งสรุปงานเพื่อวางแผน ในปีถัดไป

    งบประมาณ 7,800.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 เมษายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

ท่าเทียบเรืออ่าวนุ่น หมู่ที่ 4 ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 108,490.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • ประชาชนในพื้นที่ได้บริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัย ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดี ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ
  • ปริมาณความหนาแน่นของบ้านปลาเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นแหล่งกำเนิดและอนุบาลสัตว์สัตว์น้ำ ในบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง เพื่อแสดงความอุดมสมบูรณ์ของท้องทะเล
  • เกิดความร่วมมือในชุมชนท้องถิ่น รวมถึงภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ในเรื่องการอนุรักษ์และความมั่นคงทางอาหารสู่ความเข้มแข็งของชุมชมในการปกป้องทรัพยากรทางทะเล
  • สามารถสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลทางสู่สาธารณชน
  • เกิดเป็นต้นแบบแนวทางการดำเนินการเพื่อฟื้นฟูสัตว์น้ำที่อ้างอิงในเชิงรูปธรรมได้
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 108,490.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................