กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาการเฝ้าระวังป้องกันโรคนํ้าหนีบ (Caisson Disease) ของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่หมู่ที่3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล นับตั้งแต่พื้นที่ทะเลทางภาคใต้ได้ถูกประกาศเป็นพื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชนั้น ชาวเลประสบปัญหาหลายด้าน เช่น เรื่องไร้สิทธิ์ครอบครองและอาศัยอยู่ในที่ดินชุมชน การถูกไล่ที่จากภาคเอกชน รวมถึงการไม่สามารถออกจับสัตว์น้ำในบริเวณอุทยานแห่งชาติได้ ทำให้ชาวเลหลายพื้นที่ต้องออกเรือไกลและลงน้ำลึกกว่าเดิม ซึ่งนอกจากจะเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในเรื่องค่าน้ำมันเรือแล้ว ยังเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาโรคน้ำนีบ(Caisson Disease) มากขึ้น เนื่องจากต้องดำน้ำในระดับน้ำที่ลึกกว่าเดิม จากข้อมูลกองเวชศาสตร์ใต้น้ำและการบิน กรมแพทย์ทหารเรือ ได้รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยจากการดำน้ำที่เข้ารับการรักษาในช่วงปี 2525 – 2544 พบว่าผู้ป่วยทุกคนประกอบอาชีพดำน้ำลึก ตั้งแต่ 30 – 40 เมตร ขึ้นไป เพื่อจับสัตว์ทะเลหรือตัดต้นไม้ใต้น้ำ ด้วยอุปกรณ์ง่ายๆ คือ หน้ากากและท่ออากาศขนาดเล็กต่อกับเครื่องอัดอากาศที่ติดตั้งบนเรือ (การดำน้ำเพื่อสันทนาการลึก แค่ 10-20 เมตร โดยมีอุปกรณ์ช่วยเหลือ) และมีการดำน้ำต่อเนื่องเป็นเวลานาน รวมทั้งขั้นตอนของการขึ้นจากน้ำเร็วกว่าปกติ จากข้อมูลระบุว่า ความเสี่ยงของการเกิดโรคน้ำหนีบ คือ การดำน้ำลึกกว่า 18 เมตร จากข้อมูลสถิตการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบของจังหวัดสตูล ยังพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง โดยจากสถิติข้อมูลมีรายงานพบว่าชาวเลบนเกาะหลีเป๊ะ จังหวัดสตูล ยังพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูลในปี 2552 รพ.สต.เกาะหลีเป๊ะ สำรวจพบว่า มีชาวประมงเจ็บป่วยจากการดำน้ำ จำวน 24 ราย ขณะที่ล่าสุดข้อมูลจนถึงปัจจุบัน ปี 2558 พบจำนวนผู้ป่วยลดลงเหลือ จำนวน 9 ราย ก็ตาม ขณะที่พื้นที่เกาะบูโหลน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล เป็นอีกพื้นที่ที่สำคัญซึ่งมีประชาชนประกอบอาชีพประมงหาปลาหรือสัตว์น้ำเช่นเดียวกับชาวเลเกาะหลีเป๊ะ โดยคุณลักษณะทางประชากรด้านเชื้อชาติเผ่าพันธุ์เป็นชุมชนชาวเล(ชาวอูรักลาโว้ย) มากกว่าร้อยละ 90 โดยมีการอพยพไปมาระหว่างเกาะบูโหลน เกาะหลีเป๊ะ จากสถิติข้อมูลการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ พ.ศ. 2562 รพ.สต.บ่อเจ็ดลูก มีรายงานพบผู้ป่วยโรคน้ำหนีบบนเกาะบูโหลน จำนวน 1 ราย อย่างไรก็ตามพบว่ายังมีข้อจำกัดของข้อมูลที่จะบ่งชี้ถึงสถิติการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบของชาวเลดังกล่าว ด้วยสาเหตุหลายปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านคุณลักษณะทางประชากรด้านเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ ความเชื่อ ความรู้ พฤติกรรมการป้องกันตนเองยังไม่ดีพอ อัตราการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพยังต่ำมากด้วยข้อจำกัดเรื่องการเดินทางลำบาก และยังไม่มีหน่วยบริการสาธารณสุขและบุคลากรสาธารณสุขบนพื้นที่เกาะบูโหลน ที่มีศักยภาพในการตรวจคัดกรองโรคน้ำหนีบเบื้องต้นได้ แต่ด้วยความรุนแรงอาการของโรคน้ำหนีบ มีความอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตหากไม่ได้รับการดูและรักษาอย่างถูกต้อง ประกอบกับกลุ่มชาวเลเกาะบูโหลนซึ่งเป็นคนกลุ่มพื้นเมือง อาศัยอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทำให้การเข้าถึงข้อมูลในการป้องกันตนเองจากภัยสุขภาพของการประกอบอาชีพยังมีอยู่น้อยดังนั้น มีความจำเป็นที่หน่วยงานสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องดำเนินพัฒนาการเฝ้าระวังสุขภาพของกลุ่มชาวเล จากการประกอบอาชีพดำน้ำลึกอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาการเฝ้าระวังและป้องกันโรคน้ำหนีบของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อช่วยลดสถานการณ์ความรุนแรงของการเกิดโรคที่อาจเกิดขึ้นได้อีกในอนาคต และอีกทั้งเป็นการกำหนดมาตรการป้องกันและสร้างระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมนพื้นที่เกาะบูโหลนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1 เพื่อจัดทำสถานการณ์และพัฒนาระบบเฝ้าระวังการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบของชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน
    ตัวชี้วัด : ได้ชุดข้อมูลสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค รวมถึงขนาดของปัญหาภัยสุขภาพในกลุ่มชาวเลผู้ประกอบอาชีพประมงและประชาชนกลุ่มเสี่ยง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของ อสม.และแกนนำชุมชนในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในกลุ่มชาวเลและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกาะบูโหลน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของแกนนำชุมชน อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจคัดกรองผู้ป่วยหรือคนกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบเบื้องต้นได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเสริมสร้างความตระหนักรู้ พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากความเสี่ยงทางสุขภาพต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในพื้นที่ชุมชนเกาะบูโหลน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน แกนนำชุมชน อสม. โรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    รายละเอียด

    ค่าอาหารกลางวัน 100 บ. x 30 คน x 1 มื้อ x 2 แห่ง = 6,000บ.
    ค่าอาหารว่าง 35 บ.x 30 คน x 4 มื้อ x 2 แห่ง = 4,200บาท ค่าวิทยากร 600 บ. x 8 ชม. = 4,800 บาท ค่าพาหนะเรือเหมา = 4,000บาท ค่าที่พักเหมาจ่าย800 บ. x 4 คน x 2 คืน = 6,400 บาท รวม25,400 บาท

    งบประมาณ 25,400.00 บาท
  • 2. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอสม./แกนนำชุมชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการตรวจคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง การสื่อสารความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ อสม. และแกนนำชุมชน
    รายละเอียด

    ค่าอาหารกลางวัน 100บ.x 30 คน x 1 มื้อ x 2 แห่ง = 6,000บาท ค่าอาหารว่าง 35 บ.x 30 คน x 2 มื้อ x 2 แห่ง= 4,200บาท ค่าวิทยากร 600 บ. x 8 ชม. = 4,800 บาท ค่าพาหนะเรือเหมา = 4,000บาท
    ค่าที่พักเหมาจ่าย800 บ. x 4 คน x 2 คืน = 6,400 บาท รวม25,400 บาท

    งบประมาณ 25,400.00 บาท
  • 3. อสม./แกนนำชุมชน ร่วมกับ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง และองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ดำเนินการ implement เชิงรุกในการตรวจคัดกรองความเสี่ยงฯโรคน้ำหนีบ
    รายละเอียด

    ค่าเบี้ยเลี้ยง 240 บ.x 6 คน x 4 วัน=5,760 บ. ค่าพาหนะเรือเหมา = 4,000บ. ค่าที่พักเหมาจ่าย800 บ. x 6 คน x 3 คืน = 14,400 บ. รวม 24,160 บาท

    งบประมาณ 24,160.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 เมษายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 3 บ้านเกาะบูโหลน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 74,960.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1 แกนนำชุมชน อสม. และประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจ เกิดความตระหนักรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบ
2 อสม. แกนนำชุมชน มีแนวทางการดำเนินงานเพื่อตรวจคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ เพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคน้ำหนีบในกลุ่มชาวเลและประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 74,960.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................