กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ไข้เลือดออก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต

1. นายโกศล ไตสุวรรณ
2. นายอรุณ
3.
4.
5.

เขตตำบลคีรีเขต และบ้านผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ประชาชนที่เป็นผู้ป่วยได้รับการดูแลสภาพพื้นที่สิ่งแวดล้อม

11.00 21.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2019

กำหนดเสร็จ 30/08/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 พ่นยุงป้องกันโรคไข้มาลาเรีย

ชื่อกิจกรรม
พ่นยุงป้องกันโรคไข้มาลาเรีย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นเตรียมการ 1. เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ประชุมวางแผนดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 3. ขอรับการสนับสนุนสื่อต่างๆ ในการประชาสัมพันธ์เผยแพร่โรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย จากสำนังานสาธารณสุขอำเภอธารโต 4. ขอสนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์สำหรับการดำเนินงานควบคุมไข้เลือดออกและมาลาเรีย ได้แก่ ทรายอะเบท น้ำยาพ่นหมอกควัน จากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอธารโต 5. จัดซื้อวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ดำเนินการพ่นหมอกควัน ได้แก่ น้ำมันเบนซิลธรรมดา น้ำมันดีเซล จากงบประมาณในโครงการ และขอสนับสนุนบางส่วนจาก อบต.คีรีเขต

ขั้นดำเนินการ 1. จัดประชุมทีมตำบลควบคุมโรค จำนวน 30 คน ปีละ 3 ครั้ง (ตค, กพ, มิย) 2. กำหนดพื้นที่ในการดำเนินการ โดยการจัดลำดับความเสี่ยง 2.1 สำรวจความชุกลูกน้ำยุงลายและยุงก้นปล่องในชุมชน พร้อมทั้งกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ทุก 3 เดือน (ตค., มค., กค.) 2.2 สรุปผลความชุกของแต่ละพื้นที่ 2.3 จัดลำดับพื้นที่ดำเนินการ ก่อน-หลัง 3. รณรงค์ใส่/แจก ทรายอะเบทในชุมชนทุกครัวเรือน เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายและยุงก้นปล่อง โดยอาสาสมัครสาะารณสุข ทุก 3 เดือน 4. ดำเนินการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายและยุงก้นปล่องตัวแก่ ใน 7 หมู่บ้าน จำนวน 1 ครั้ง

ขั้นประเมินผล 1. ประเมินการดำเนินงานโครงการส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลคีรีเขต และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอธารโต

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>