กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเด็กชุมชนบ้านนากันกินผักปลอดสารพิษชีวิตปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน

นางอุไร เพ็งลาย0898768396
นางสาวธนัญกรณ์ ชุมรักษ์ 0812750422
นายพิทักษ์ แก้ววิชิต 0849688069

โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 นักเรียนกินผัก 400 กรัมต่อวันมีจำนวนน้อย

 

30.00
2 ผักสดที่ซื้อจากตลาดมีสารเคมีปนเปื้อน ตกค้าง

 

40.00
3 พื้นที่ในการปลูกผักปรอดสารพิษมีน้อย

 

10.00

ในปัจจุบันนี้ผักสดที่ซื้อจากตลาด ไม่ทราบแหล่งที่มา ไม่แน่ใจว่ามีความปลอดภัยมากน้อยแค่ไหน อาจมีสารเคมีตกค้าง เมื่อนำมาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนส่งผลให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพของนักเรียน ซึ้งนำไปสู่โรคภัยต่างๆ มากมาย
ดังนั้นโรงเรียนชุมชนบ้านนากัน จึงได้จัดทำโครงการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษใช้บริโภคในโครงการอาหารกลางวัน ทำให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง ปลอดจากโรคภัยต่างๆ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปสู่ครอบครัวและชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของผักสดที่ซื้อจากตลาดมีสารเคมีปนเปื้อน ตกค้าง

40.00 20.00
2 เพิ่มการกินผักของนักเรียนในโรงเรียน

ร้อยละของนักเรียนที่กินผักอย่างน้อยวันละ 400 กรัมต่อวัน

30.00 50.00
3 เพื่อเพิ่มพื้นที่ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน

สัดส่วนพื้นที่ปลูกผักปลอดสารพิษ ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด

10.00 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 25/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ เรื่อง การบริโภคผักปลอดสารพิษดีต่อสุขภาพอย่างไร และปลูกผักปลอดสารพิษ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ เรื่อง การบริโภคผักปลอดสารพิษดีต่อสุขภาพอย่างไร และปลูกผักปลอดสารพิษ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. เตรียมเนื้อหาการอบรมให้ความรู้เรื่อง การบริโภคผักปลอดสารพิษดีต่อสุขภาพอย่างไรคู่มือ 500 บาท 2.เชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้ 600 * 4 = 2400 บาท
  2. เตรียมอาหารว่าง และ เครื่องดื่ม 25 * 160 = 4000 บาท
  3. ดำเนินการอบรม ปลูกผักปลอดสารพิษ
  4. สร้างโรงเรืองผักกลางมุ้ง 30000 บาท
  5. ซื้อเมล็ดพันธุ์1000บาท
  6. อุปกรณ์เตรียมแปลงปลูกผักทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้และเศษอาหาร ปรับพื้นที่ 5000 บาท
  7. เครื่องมือเกษตร 1000บาท
  8. นักเรียนปลูกผักหมุนเวียน และดูแลรักษาตามขั้นตอนการปลูกผักแต่ละชนิด
  9. เก็บผลผลิตเพื่อส่งจำหน่ายโครงการอาหารกลางวัน
  10. นักเรียนทุกคนรับประทานอาหารกลางวันที่มีส่วนประกอบจากพื้ชผักตามโครงการปลูกผักปลอดสารพิษ
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการและการเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ มีภูมิคุ้มกัน มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
  2. มีผักปลอดสารพิษใช้ในโครงการอาหารกลางวัน
  3. มีการส่งเสริมให้บริโภคผักปลอดสารพิษเพื่อการส่งเสริมการมีสุขภาพที่แข็งแรงปลอดภัยจากโรค
  4. มีการส่งเสริมค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
43900.00

กิจกรรมที่ 2 ปรับเมนูผักให้แปลกใหม่น่ารักประทาน ในโครงการอาหารกลางวัน

ชื่อกิจกรรม
ปรับเมนูผักให้แปลกใหม่น่ารักประทาน ในโครงการอาหารกลางวัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. นำผักมาชุปทอด เทมปุระ
  2. นำผักมาทำสลัดโล
  3. ทำผักมาแปรรูปเช่น หมัก ดอง
  4. นำผักมาตกแต่งจานอาหาร
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนรับประทานผักเพิ่มมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 43,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

โรงเรียนมีผักปลอดสารพิษใช้ในโครงการอาหารกลางวัน
นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษทำให้มีสุขภาพแข็งแรง
นักเรียนนำความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษโดยวิธีการกลางมุ้งไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและขยายความรู้สู่ครอบครัวและชุมชน
นักเรียนรับประทานผักเพิ่มมากขึ้น
นักเรียนทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข มีสุขภาพจิตที่ดี


>