กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเกษตรปลอดภัยเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนบ้านโคกตก โตฉลาด สมวัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงเรียนบ้านโคกตก

นายวรินทร์ พุฒทวี หัวหน้าโครงการ 081-9697003
นายกอเซ็ง สุหลง 090-2722440
นายโอนมานับ โอะเจ
นายยศกร ศรีทวีวัฒน์
นายสมยศ เหล็มปาน

โรงเรียนบ้านโคกตก ต.ทุ่งพอ อ.สะบ้าย้อย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

40.00
2 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร

 

20.00

ปัจจุบันโรงเรียนบ้านโคกตกมีจำนวนนักเรียน 344 คน พบสถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาวะเด็ก
- ระดับอนุบาลมีนักเรียน 54 คน พบว่ามีภาวะเริ่มอ้วน 3 คนคิดเป็นร้อยละ...................
-ระดับประถมศึกษามีนักเรียน 203 คน พบว่ามีภาวะ ผอม 7 คน ผอมและเตี้ย 15 คน คิดเป็นร้อยละ.......................
-ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีนักเรียน 87 คน พบว่ามีภาวะ ผอม 8 คน เตี้ย 9 คน เริ่มอ้วนและอ้วน 9 คน คิดเป็นร้อยละ...........................
ในปัจจุบันโรงเรียนมีการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนในด้านการส่งเสริมสุขภาพฟัน และการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิคทุกเช้าวันอังคาร
สำหรับการจัดการระบบอาหารในโรงเรียน โรงเรียนมีการส่งเสริมการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน เช่น การเพาะเห็ดนางฟ้า การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมน การปลูกผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงไก่ เพื่อใช้ในการประกอบอาหารในโครงการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน ปัจจุบันสามารถจัดสรรผลผลิตที่ได้จากโครงการเกษตรในโรงเรียน ปัจจุบันนักเรียนทั้งหมด 344 คนข้อมูล 10 มิ.ย 62 แต่ยังพบปัญหาผลผลิตที่ได้ยังไม่เพียงพอกับนักเรียน ทางโรงเรียนเล็งเห็นว่าาการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนเพื่อลดปัญหาเด็กผอม ค่อนข้างผอมและเตี้ย จำเป็นต้องได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ การเพาะเห็ดนางฟ้าจะเป็นส่วนที่จะทำให้เด็กเข้าถึงสารอาหารที่มีคุณค่าด้านโภชนาการซึ่งจะช่วยลดปัญหาด้านสุขภาวะได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

40.00 20.00
2 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6  ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

20.00 5.00
3 เพื่อเพิ่มพื้นที่อาหารปลอดภัยในโรงเรียนด้วยการทำการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

มีผลผลิตจากแปลงเกษตรปลอดภัยจากแปลงป้อนสู่โรงครัวของโรงเรียน

0.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 344
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักเรียน ป.5 ที่เรียนบูรณาการวิชาเกษตร 40

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>