กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารปลอดภัย สุขภาพดี ถูกหลักโภชนาการ โรงเรียนบ้านนาทวี ปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงเรียนบ้านนาทวีอ.นาทวีจ.สงขลา

1.นางสาวสุนีย์ สุวามีนเบอร์โทร0805494556
2.นางพงษ์จันทร์ ปานพรหม เบอร์โทร0807033640
3.นางณัฏฐนันธ์ เรืองรัตน์ เบอร์โทร0612137109
4.นางสาวอาอีฉ๊ะ ส่งตอน เบอร์โทร0872863986
5.นางสาวนิชาภา เชื้อขำเบอร์โทร0848398982

โรงเรียนบ้านนาทวีอ.นาทวีจ.สงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากข้อมูลการวัดส่วนสูง และน้ำหนักของนักเรียนของโรงเรียนบ้านนาทวี จำนวน 1,762 พบว่านักเรียนของเรามีภาวะอ้วน ลงพุง จำนวน 367 คน คิดเป็นร้อยละ21 ของนักเรียนทั้งหมด มีภาวะเด็กผอม เตี้ย จำนวน 242 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ของนักเรียนทั้งหมด ไม่ชอบรับประทานอาหารเช้า เนื่องจากพ่อแม่ต้องทำงาน ไม่มีเวลาเตรียมอาหารเช้า และส่วนนึงเด็กของไม่เห็นความสำคัญของอาหารเช้าเด็กมักจะดื่มน้ำอัดลมอาหารประเภทแป้ง ทอด ทำให้มีปัญหาด้านอ้วน ผอมและลงพุง ซึ่งอาหารดังกล่าวล้วนแต่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกายและไม่ถูกหลักโภชนาการอีกด้วย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดจำนวนของเด็ก6-14ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วน ลงพุง 2.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหาร 3.เพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ 4..นักเรียนและผู้ปกครองเห็นความสำคัญในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ดีในการเลือกรับประทานอาหาร

จำนวนของเด็ก6-14ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วน ลงพุงลดลง

21.00 15.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 609
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 14/10/2019

กำหนดเสร็จ 16/03/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 บรรยายให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และส่งเสริมบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ

ชื่อกิจกรรม
บรรยายให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และส่งเสริมบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมวางแผนคณะกรรมการเพื่อจัดทำโครงการ 2.จัดทำโครงการเสนอประธานและคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาทวี 3.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4.ประสานวิทยากร 5.ประชุมสร้างความเข้าใจและกำหนดบทบาทหน้าที่ 6.เตรียมกระบวนการและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดประชุม 7.การดำเนินกิจกรรม 7.1การให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ 7.2วิธีการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ 7.3สาธิตการประกอบอาหารที่มีประโยชน์ตามหลักโภชนาการ 8.สรุปผลโครงการ ค่าใช้จ่าย 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม หัวล่ะ 25จำนวน 1,400*25=35,000 บาท 2.ค่าทีมวิทยากร3คน= 5,000 รวมทั้งสิ้น 40,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนมีการดูแลสุขภาพที่ดี ส่งผลให้นักเรียนมีร่างกายที่แข็งแรง 2.นักเรียนและผู้ปกครองเห็นความสำคัญในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ก่อให้เกิกพฤติกรรมที่ดีในการเลือกรับประทานอาหาร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
40000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 40,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนมีการดูแลสุขภาพที่ดีส่งผลให้นักเรียนมีร่างกายที่แข็งแรง
2.นักเรียนเห็นความสำคัญในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ดีในการเลือกรับประทานอาหาร


>