กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเกษตรอินทรีย์เพื่ออาหารกลางวัน นักเรียนบ้านพอบิด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงเรียนบ้านพอบิด อ.นาทวี จ.สงขลา

1. นายนภดลนวลนภดล โทร. 093-5840375
2. นายสาธิตแก้วศรี โทร. 089-9767271

โรงเรียนบ้านพอบิด ม.9 ต.ท่าประดู่ อ.นาทวี จ.สงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละนักเรียนที่ประสบปัญหาด้านภาวะโภชนาการ

จากสำรวจโดยการสอบและจากก็บข้อมูลจากนักเรียน

80.00
2 ร้อยละนักเรียนที่ประสบปัญหาด้านความปลอดภัยของอาหาร

 

60.00

ในปัจจุบันโรงเรียนบ้านพอบิดประสบปัญหาด้านภาวะโภชนาการและปัญหาด้านความปลอดภัยของอาหารในกลุ่มนักเรียน เพราะนักเรียนบางส่วนไม่ได้รับประทานอาหารครบทั้งสามมื้อ บางส่วนขาดการดูแลเรื่องสารอาหารและภาวะโภชนาการของนักเรียน และบางส่วนขาดการดูแลเรื่องความปลอดภัยของอาหาร โดยโรงเรียนบ้านพอบิดไดด้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดทำโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และสนองตอบนโยบายของรัฐบาล และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้จัดทำโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนรู้จักทำการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง ทำการเกษตรแบบอินทรีย์ รู้จักการทำนา ปลูกพืชผัก เลี้ยงสัตว์ ทำปุ๋ยหมัก เพาะเห็ด เลี้ยงไก่ไข่ และเลี้ยงปลา เป็นต้น เป็นการสร้างความปลอดภัยด้านอาหาร เพิ่มผักในเมนูอาหาร ส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของผู้เรียน ลดภาวะการขาดสารอาหารและภาวะโภชนาการที่อยู่ในเกณฑ์ต่ำ ทั้งยังสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียนและชุมชน ขยายต่อความรู้ด้านการจัดการอาหารปลอดภัยนำกลับไปทำที่บ้านเพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารภายในครัวเรือน ขยายต่อเป็นอาชีพ เพื่อสร้างความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนให้เกิดขึ้นภายในครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
  1. นักเรียนมีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ปกติทุกคน
80.00 40.00
2 เพื่อให้นักเรียนบริโภคอาหารที่ปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนนำมาประกอบอาหาร
  1. ผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนปลอดภัยไร้สารพิษ
  2. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพจิตที่ด
60.00 100.00
3 เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการทำการเกษตรอินทรีย์และขยายต่อไปยังครอบครัวและชุมชน
  1. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการทำเกษตรอินทรีย์
  2. มีนักเรียน ชุมชน และบุคคลภายนอกเข้ามาศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้
50.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 56
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/07/2019

กำหนดเสร็จ 16/07/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>