กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมโดยการจัดการขยะ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลทุ่งหว้า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคฉี่หนู ฯลฯ

จำนวนประชาชนที่เกิดเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง ฯลฯ ลดลง

0.00
2 1.2 เพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะ ส่งเสริมการคัดแยกโดยใช้หลัก 3Rs (คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่) ให้สามารถแยกประเภทขยะและกำจัดขยะอย่างถูกวิธีและใช้ประโยชน์จากขยะในชุมชน

ค่า Hi Ci (ค่าการตรวจพบลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนและภาชนะ) เท่ากับศูนย์

0.00
3 1.3 เพื่อสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด รักษ์สิ่งแวดล้อม ในชุมชน

ชุมชนทุกหลังคาเรือน มีปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดลดลง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 08/08/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมโดยการจัดการขยะ

ชื่อกิจกรรม
โครงการลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมโดยการจัดการขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

6.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมในชุมชนให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน40คน 6.1.1 ค่าอาหารกลางวันจำนวน40 คน ๆ ละ 50.-บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน2,000.-บาท 6.1.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน40 คน ๆ ละ 25.-บาท/มื้อจำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000.-บาท 6.1.3 ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 2.00X4.00 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 1,200.-บาท 6.1.4ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.20X2.40 เมตร จำนวน 9 ป้าย เป็นเงิน 3,888.-บาท
6..1.5ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800.- บาท 6.1.6 ค่าเอกสารประกอบการอบรมเช่น สมุด,ปากกา,กระเป๋า ฯลฯ เป็นเงิน 8,000.-บาท
6.1.7 ค่าจัดซื้อบอร์ด ประชาสัมพันธ์ จำนวน 4 ชุดๆละ 4,500.-บาท เป็นเงิน 18,000.-บาท 6.1.8 ค่าวัสดุ–อุปกรณ์ เผยแพร่ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์เช่น ชุดสาธิตประเภทขยะ,ถังขยะ, ตัวอย่างขยะแปรรูป, คู่มือ,เสื้อ,หมวก,ผ้ากันเปื้อน ฯลฯ เป็นเงิน 11,912.-บาท 6.1.9 ค่าเช่าเครื่องเสียง จำนวน 1ชุด เป็นเงิน 2,000.-บาท รวมเป็นเงิน 50,800.-บาท

6.2 กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการคัดแยกขยะ โดยใช้หลัก 3Rs (คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่) สาธิตการคัดแยกขยะการแข่งตอบปัญหาประกวดการใช้ประโยชน์จากขยะในชุมชน การนำขยะมาคัดแยกเปลี่ยนมูลค่า
6.2.1ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน40 คน ๆ ละ 25.- บาท/มื้อจำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,000.-บาท 6.2.2 ค่าซื้อถุงดำ จำนวน 10 แพ๊คเป็นเงิน 600.-บาท
6.2.3 ค่าสมนาคุณคณะกรรมการประกวด จำนวน 3 คน ๆ ละ300 บาท เป็นเงิน900.-บาท
รวมเป็นเงิน 2,500.-บาท
6.3 กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการคัดแยกขยะ โดยใช้หลัก 3Rs (คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่) สาธิตการคัดแยกขยะ การแข่งตอบปัญหาการนำขยะมาคัดแยกเปลี่ยนเป็นมูลค่า ในชุมชนและวันที่มีตลาดนัดของเทศบาล (วันพุธ,วันพฤหัสบดี,วันอาทิตย์) เป็นเวลา ๒ สัปดาห์ๆ ละ ๓ วัน 6.3.1ค่าสมนาคุณเจ้าหน้าที่และแกนนำ จำนวน10 คน ๆ ละ 100 บาท/วัน จำนวน6วันเป็นเงิน 6,000.- บาท
6.3.2 ค่าเช่ารถแห่ประชาสัมพันธ์ จำนวน 6 วันๆ ละ 1,000.-บาทเป็นเงิน6,000.-บาท 6.3.3 ค่าเช่าเต้นท์จำนวน 6 วันๆละ 1 หลังๆละ 1,000.-บาท เป็นเงิน6,000.-บาท
6.3.4 ค่าของสมนาคุณ ผู้ร่วมทำกิจกรรมการคัดแยกขยะ เช่น ไข่ไก่ฯลฯเป็นเงิน6,000.-บาท6.3.6 ค่าใช้จ่ายอื่นๆเช่น ถ่ายภาพ,ถ่ายวีดีโอ,อัดภาพฯลฯ เป็นเงิน 1,700.-บาท
รวมเป็นเงิน25,700.-บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น79,000.-บาท (เจ็ดหมื่นเก้าพันบาทถ้วน) หมายเหตุค่าใช้จ่ายแต่ละรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม และเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก  โรคอุจจาระร่วง โรคฉี่หนู ฯลฯ ลดลง 7.2 ค่า HI CI (ค่าการตรวจพบลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนและภาชนะ)เท่ากับศูนย์ 7.3 ประชาชนสามารถแยกประเภทขยะ/กำจัดขยะอย่างถูกวิธี และทุกหลังคาเรือน มีปริมาณขยะที่ต้องนำไป

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
79000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 79,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

7.1 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม และเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกโรคอุจจาระร่วง โรคฉี่หนู ฯลฯ ลดลง
7.2 ค่า HI CI (ค่าการตรวจพบลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนและภาชนะ)เท่ากับศูนย์
7.3 ประชาชนสามารถแยกประเภทขยะ/กำจัดขยะอย่างถูกวิธี และทุกหลังคาเรือน มีปริมาณขยะที่ต้องนำไป


>