กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชน เพื่อชุมชนปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลูโบ๊ะปันยัง

หมู่ที่ 3-6 ตำบลกาบัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/06/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชน เพื่อชุมชนปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ชื่อกิจกรรม
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชน เพื่อชุมชนปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 กิจกรรมประชุมทีม เพื่อจัดทำแผนชุมชน และการประชุมสรุปประเมินผลประกอบด้วย -แกนนำ ผู้รับผิดชอบอำเภอ ท้องถิ่น ท้องที่ผู้นำศาสนา โรงเรียน เจ้าหน้าที่ SRRT และ อสม. จำนวน 45คน ค่าอาหารกลางวัน
- จำนวน 45คนๆละ 50 บาท/มื้อจำนวน 1 มื้อ2 ครั้ง
เป็นเงิน 4,500 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- จำนวน 45 คนๆ ละ 25 บาท/มื้อจำนวน 2 มื้อ
2 ครั้ง เป็นเงิน 4,500 บาท รวมเป็นเงิน9,000บาท 1.2 กระบวนการอบรมให้ความรู้กับชุมชนพื้นที่เสี่ยงเขตหมู่ที่ 3,6 โดยมีเนื้อหาประกอบด้วย -สถานการณ์การแพร่ระบาดในพื้นที่ -ความรู้เบื้องต้น ไข้เลือดออก -กิจกรรมการแพร่ระบาด -การวิเคราะห์ ผลกระทบ และการวางแนวทางในการดำเนินงาน -ค่าวิทยากร5 ชั่วโมงๆละ 300 x 2 คน x 4 วัน เป็นเงิน12,000 บาท -ค่าอาหารกลาง 4 รุ่นๆละ 65 คน รวมเป็นจำนวน 260 คนๆ ละ 50 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน13,000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 4 รุ่นๆละ 65 คน รวมเป็นจำนวน 260 คนๆละ 25 บาท/มื้อจำนวน 2 มื้อ
เป็นเงิน 13,000 บาท รวมเป็นเงิน 38,000บาท

  1. กิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคฯ 2.1 ออกสำรวจลูกน้ำยุงลาย แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและทำลายทุกสัปดาห์1.ค่าถ่ายเอกสาร
    • แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย (จำนวน 260 คนๆละ 4แผ่น x 3 เดือน) เป็นจำนวน 3,120 แผ่น เป็นเงิน 3,120 บาท

- ใบงานการประชุมชุดละ 5 แผ่น x 1 บาทx 305 ชุด เป็นเงิน1,525บาท รวมเป็นเงิน 4,645 บาท 2.2 ประชาสัมพันธ์ทางหอกระจายข่าวให้มีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
- ติดตามการดำเนินงานควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 2 ครั้ง/เดือน 6.ป้ายไวนิล - ไวนิลโครงการ จำนวน 1ป้าย ขนาด ( 2.53เมตร)
เป็นเงิน 1,500 บาท
-ไวนิลรณรงค์จำนวน 5 ป้ายๆละ 900 บาท ขนาด ( 1
3 เมตร) เป็นเงิน 4,500 บาท
รวมเป็นเงิน 6,000บาท


รวมเงินทั้งสิ้น57,645 บาท (เงินห้าหมื่นเจ็ดพันหกร้อยสี่สิบห้าบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
57645.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 57,645.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีแนวทางเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ระบาดในพื้นที่
2.ประชาชนให้ความตระหนักในการป้องกันตนเอง
3.พื้นที่ปลอดจากแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย


>