กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการเสริมสร้างไอคิวในโรงเรียนเทศบาล๖(วัดเมืองยะลา)

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการเสริมสร้างไอคิวในโรงเรียนเทศบาล๖(วัดเมืองยะลา)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

โรงเรียนเทศบาล๖(วัดเมืองยะลา)

นางพนิดา อินทจันทร์ (089-4649106)
นางสาวสุกัญญาแซ่โง้ว ( 087-6304695)

โรงเรียนเทศบาล ๖ ( วัดเมืองยะลา)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กในโรงเรียนเทศบาล 6(วัดเมิองยะลา)ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าที่ส่งผลต่อการพัฒนาไอคิว

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการรับประทานอาหารเช้าของนักเรียน

ร้อยละของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเสี่ยงและไม่รับประทานอาหารเช้าได้รับประทานอาหารเช้า

50.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2019

กำหนดเสร็จ 01/11/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการผู้เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการผู้เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุม คณะกรรมการผู้เกี่ยวข้องโดยประกอบด้วยผู้อำนวยการสถานศึกษา/หัวหน้างานโภชนาการ/หัวหน้างานอนามัย/ผู้ประกอบการ/ครูประจำชั้น ภาคเรียนละ 1 ครั้ง เพื่อการติดตามประเมินผล งบประมาณในการประชุมคณะกรรมการ
-อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35คน คนละ 35 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นจำนวน 1,225 บาทx6ครั้ง เป็นเงินทั้งสิ้น 2,450 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กแต่ละคนจากครูประจำชั้น
2.ได้รับแนวทาง และข้อเสนอแนะจากผู้ที่เกี่ยวข้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2450.00

กิจกรรมที่ 2 สำรวจการได้รับประทานอาหารเช้าและภาวะโภชนาการของนักเรียนที่ส่งผลต่อพัฒนาไอคืว

ชื่อกิจกรรม
สำรวจการได้รับประทานอาหารเช้าและภาวะโภชนาการของนักเรียนที่ส่งผลต่อพัฒนาไอคืว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ออกแบบสอบถามการได้รับประทานอาหารเช้าของนักเรียนแต่ละคน สำรวจพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของนักเรียนโดยครูประจำชั้นเดือนละ 1 ครั้ง งบประมาณ -ค่าถ่ายเอกสารประกอบการชุดแบบสอบถามการรับประทานอาหารเช้าของนักเรียน จำนวนชุดละ 10 แผ่นแผ่นละ 1 บาทx10ชุด เป็นเงิน 1,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กและพฤติกรรมการได้รับประทานอาหารเช้าของเด็กแต่ละคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมผู้ปกครองสำหรับนักเรียนที่ไม่ทานอาหารเช้าเพื่อคืนข้อมูลและวางแผนการดำเนินการแก้ปัญหา

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมผู้ปกครองสำหรับนักเรียนที่ไม่ทานอาหารเช้าเพื่อคืนข้อมูลและวางแผนการดำเนินการแก้ปัญหา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดการประชุมผู้ปกครองสำหรับนักเรียนที่ไม่ทานอาหารเช้า งบประมาณในการประชุมคณะกรรมการ
    -อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50คน คนละ 35 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นจำนวน 1,750 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.แนวทางการแก้ปัญหาอาหารเช้าร่วมกัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1750.00

กิจกรรมที่ 4 เพิ่มอาหารเสริมและอาหารเช้าเฉพาะนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเสี่ยงและไม่รับประทานอาหารเช้า

ชื่อกิจกรรม
เพิ่มอาหารเสริมและอาหารเช้าเฉพาะนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเสี่ยงและไม่รับประทานอาหารเช้า
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทำอาหารเช้าให้กับนักเรียนรับประทานอาหารเช้าทุกทุกวันที่เปิดเรียน งบประมาณ -ค่าอาหารเช้า จำนวน 50 คน คนละ 20 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อเช้า เป็นเงิน 1,000 บาท จำนวนเดือนละ1 ครั้ง เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเสี่ยงและไม่รับประทานอาหารเช้าในโรงเรียนเทศบาล ๖ ( วัดเมืองยะลา)ได้รับประทานอาหารเช้า 2.เด็กมีภาวะโภชนาการที่เสริมสร้างไอคิวที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 5 สรุปและประเมินผลติดตามภาวะโภชการเพื่อเสริมสร้างไอคิวให้กับนักเรียนในโรงเรียนเทศบาล ๖ ( วัดเมืองยะลา)

ชื่อกิจกรรม
สรุปและประเมินผลติดตามภาวะโภชการเพื่อเสริมสร้างไอคิวให้กับนักเรียนในโรงเรียนเทศบาล ๖ ( วัดเมืองยะลา)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ส่งแบบสอบถามให้ครูประจำชั้นได้วิเคราะห์ข้อมูลในเรื่องของภาวะโภชนาการของนักเรียนในชั้นเรียนของตนเองภาคเรียนละ1 ครั้ง เป็นจำนวน 2 ครั้งต่อปีการศึกษา นำข้อมูลให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมาวิเเคราะห์เกี่ยวกับพัฒนาการด้านไอคิวเมื่อเด็กได้รับประทานอาหารเช้า
งบประมาณ
-ค่าถ่ายเอกสารประกอบการสอบถามการรับประทานอาหารเช้าของนักเรียน จำนวน 2 แผ่น แผ่นละ 1 บาท เป็นเงิน380บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 760 บาท -ค่าถ่ายเอกสารประกอบการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการด้านไอคิวเมื่อนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้า จำนวน 2 แผ่น แผ่นละ 1 บาท เป็นเงิน380บาทx2ครั้ง เป็นเงิน 760 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กและพฤติกรรมการได้รับประทานอาหารเช้าที่ส่งผลพัฒนาการด้านไอคิวของนักเรียนในโรงเรียนเทศบาล ๖(วัดเมืองยะลา)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1520.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการประเมินการดำเนินงานตามโครงการที่จัดขึ้น

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการประเมินการดำเนินงานตามโครงการที่จัดขึ้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุม และนำเสนอผลจากการดำเนินงานให้คณะกรรมการผู้เกี่ยวข้องโดยประกอบด้วยผู้อำนวยการสถานศึกษา/หัวหน้างานโภชนาการ/หัวหน้างานอนามัย/ผู้ประกอบการ/ครูประจำชั้น ได้ทราบถึงผลของการจัดทำโครงการตลอด 1 ปีการศึกษา งบประมาณ
-อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20คน คนละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นจำนวน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กแต่ละคนจากครูประจำชั้น
2.ได้รับทราบถึงพัฒนาการระดับไอคิวของนักเรียนแต่ละคนเมื่อได้รับประทานอาหารเช้า

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,220.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเสี่ยงและไม่รับประทานอาหารเช้าได้รับประทานอาหารเช้าซึ่งส่งผลให้พัฒนาไอคิวนักเรียนในโรงเรียนเทศบาล๖(วัดเมืองยะลา)ดีขึ้น
2.นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเสี่ยงและไม่รับประทานอาหารเช้าได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้ามากขึ้น


>