กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.อุใดเจริญ

-

พื้นที่ตำบลอุใดเจริญ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)

 

600.00
2 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน)

 

8,600.00
3 จำนวนเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

 

400.00
4 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)

 

400.00
5 จำนวนประชากรที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโควิด ๒๐๑๙

 

8,600.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)

ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)

600.00 80.00
2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

ร้อยละของการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

400.00 60.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)

400.00 70.00
4 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน)

ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน)

8600.00 80.00
5 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

0.00
6 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนมีการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนมีอุปกรณ์ในการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคที่ยุงเป็นพาหะ

ชื่อกิจกรรม
การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคที่ยุงเป็นพาหะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนในพื้นที่ได้รับการบรรเทาจากการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคที่ยุงเป็นพาหะ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

ชื่อกิจกรรม
การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กได้รับการรักษาและการปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม

ชื่อกิจกรรม
เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การจัดซื้อรองเท้าบูทป้องกันโรคฉี่หนูแก่ชาวบ้านที่ประสบภาวะน้ำท่วม จำนวน.........คู่

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม ได้รับการบรรเทา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า

ชื่อกิจกรรม
เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563

ชื่อกิจกรรม
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑. ประสานงานเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและจัดเตรียมอุปกรณ์

๒. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙)
งบประมาณ

  • ค่าป้ายโครงการ ขนาด ๑ x ๔ เมตร เป็นเงิน ๖๐๐ บาท

  • ค่าป้ายรณรงค์ ขนาด ๑.๒ x ๒.๔ เมตร จำนวน ๓๐ ป้าย เป็นเงิน ๑๒,๙๖๐ บาท

  • ค่าตอบแทนวิทยากร ๓ ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท

๓. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้กับประชาชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) งบประมาณ

  • ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร จำนวน 3 คน x ๒ ชั่วโมงๆละ 500 บาท เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท

  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน ๒๐๐ ชุดๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน ๕,๐๐๐ บาท

  • ค่าอุปกรณ์สาธิตการทำหน้ากากอนามัย จำนวน ๒๐๐ ชุดๆละ ๓๐ บาท เป็นเงิน ๖,๐๐๐ บาท

  • ค่าเอกสารความรู้ จำนวน ๒๐๐ ชุดๆละ ๑๐ บาท เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท

  • วัสดุ อุปกรณ์อื่นๆ เช่น ปากกา กระดาษ เจลล้างมือ ฯ เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท

๔. สนับสนุนสนับสนุนให้ประชาชนมีการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) โดยการสอนการจัดทำหน้ากากอนามัย และการล้างมือที่ถูกวิธี

๕. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ของอบต./เทศบาล
  2. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
33360.00

กิจกรรมที่ 6 โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563

ชื่อกิจกรรม
โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 และจัดทำหน้ากากอนามัย โดยทีมครู ในพื้นที่ ของอบต.อุใดเจริญ

  • ค่าอุปกรณ์สาธิตและวัสดุอื่นๆในการทำหน้ากากอนามัยเป็นเงิน 50000 บาท

  • ผ้าคอตอน 128 หลา เป็นเงิน 6400 บาท

  • ยางยืดเส้นเล็ก 1257 หลา เป็นเงิน 6285 บาท

  • เข็ม ด้าย เข็มหมุด จำนวน 7120 ชุด เป็นเงิน 35600 บาท

  • กรรไกร 7 นิ้ว 5 ด้าม เป็นเงิน 150 บาท

  • วัสดุอื่นๆ เป็นเงิน 2065 บาท

2.การเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัส โคโรนา 2019 ในหน่วยงาน อบต.อุใดเจริญ โรงเรียนผู้สูงอายุ ศพด.สังกัด อบต.อุใดเจริญ

  • ค่าเจล/สเปร์แอลกอฮอล์สำหรับล้างมือ ปริมาณ 500 มล. จำนวน 24 ถุง เป็นเงิน 7200 บาท

  • ค่าเครื่องวัดอุณหภูมิอินฟาเรด จำนวน 7 เครื่อง เป็นเงิน 18900 บาท

  • ค่าเอกสารความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรน่า 19 และสอนทำหน้ากากอนามัย จำนวน 7120 ชุดเป็นเงิน 9500 บาท

  • ค่าอื่นๆเช่น ขวดพลาสติก หัวปั้ม ค่าถ่ายเอกสาร ค่าถุงพลาสติกเป็นต้น เป็นเงิน 5000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 และจัดทำหน้ากากอนามัย

  2. ประชาชนและหน่วยงานมีอุปกรณ์ในการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัส โคโรนา 2019

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
90600.00

กิจกรรมที่ 7 โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563 (ระยะที่ 3)

ชื่อกิจกรรม
โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563 (ระยะที่ 3)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.เครื่องพ่นยาแบตเตอรี่ ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 16 ลิตร จำนวน 9 เครื่อง เป็นเงิน 13500 บาท

2.ชุดป้องกันร่างกายในการพ่นยา 9 ชุด

  • ชุดเสื้อกางเกงป้องกันความปลอดภัย จำนวน 9 ชุดๆละ 290 บาท เป็นเงิน 2610 บาท

  • รองเท้าบู๊ท จำนวน 9 คู่ๆละ 180 บาท เป็นเงิน 1620 บาท

  • หน้ากากกันสารเคมี จำนวน 9 ชุดๆละ 180 เป็นเงิน 1620 บาท

  • แว่นตากันสารเคมี จำนวน 9 ชุดๆละ 55 บาท เป็นเงิน 495 บาท

  • ถุงมือยาง แบบหนา จำนวน 9 คู่ๆละ 30 บาท เป็นเงิน 270 บาท

3.ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อ ขนาด1 ลิตรๆละ 600 บาท จำนวน 9 ขวด เป็นเงิน 5400 บาท

4.ค่าวัสดุอื่นๆ เป็นเงิน 485 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563ให้แก่ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ

2.เพื่อสนับสนุนและเสริมมาตรการทางปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ให้มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 149,960.00 บาท

หมายเหตุ :
ประชาชนในพื้นที่ได้รับการบรรเทาผลกระทบต่อปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>