กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน รหัส กปท. L5286

อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ในสถานศึกษาและชุมชนตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2563
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน
กลุ่มคน
1.นายวัฒนชัย ไชยจิตต์
2.นางรสนา บินหมาน
3.นางวนิดา ศรีริภาพ
4.นางอภิยา เหตทอง
5.นางสาวมารียา สุขสง่า
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อสำคัญที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มียุงลาย (Aedes aegypti) เป็นพาหะนำโรค โดยเกิดจากเชื้อไข้เลือดออกซึ่งเป็นไวรัสมีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ เด็งกี (Dengue) กับชิกุนคุนยา(Chigunkunya) ประมาณร้อยละ 90 ของผู้ป่วยไข้เลือดออก จะมีสาเหตุจากเชื้อเด็งกี ซึ่งยังแบ่งออกเป็นพันธุ์ย่อยๆ ได้อีก 4 ชนิด ได้แก่ ชนิด 1, 2, 3,และ 4 เชื้อเด็งกีเหล่านี้สามารถทำ ให้เกิดไข้เลือดออกที่รุนแรงได้ ประมาณร้อยละ10 ของผู้ป่วยไข้เลือดออกจะมีสาเหตุจากเชื้อชิกุนคุนยา ซึ่งมักมีอาการไม่รุนแรงคือไม่ทำ ให้เกิดภาวะช็อกเช่นที่เกิดจากเชื้อเด็งกี่ อุบัติการณ์ของโรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออกนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศไทยซึ่งมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในทุกปีตำบลวังประจันมีการระบาดของโรคไข้เลือดอออกในทุกปี ซึ่งมีจำนวนผู้ป่วย 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2557 ถึง ปี 2561 ตามลำดับ ดังนี้ ปี 2557 ผู้ป่วยสงสัย 7 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 0 ราย ปี 2558 ผู้ป่วยสงสัย 32 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย ปี 2559 ผู้ป่วยสงสัย 14 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 0 ราย ปี 2560 ผู้ป่วยสงสัย 7 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 0 ราย ปี 2561 ผู้ป่วยสงสัย 9 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย ปี 2562 ผู้ป่วยสงสัย 9 ราย ผู้ป่วยยืนยัน 0 ราย ผลการสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายประจำเดือนตุลาคม 2562 ค่า HI เท่ากับ ร้อยละ 17 CI เป็น 0 ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ประชาชนยังขาดการมีส่วนร่วมในการควบคุม ป้องกันโรค จึงต้องทำปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่การทำงานเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคดังกล่าว ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไปโดยเน้นให้ประชาชน ผู้นำชุมชน ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่องสม่ำเสมอ เพื่อควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดและลดอัตราป่วยในการเกิดโรคในพื้นที่ตำบลวังประจันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ในสถานศึกษาและชุมชนตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2563 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยาลงให้เหลือน้อยที่สุด

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. ข้อที่ 1. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (H.I.) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
    ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (H.I.) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. ข้อที่ 2. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ายุงลายในโรงเรียน (C.I.) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ในเขตรับผิดชอบ
    ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน (C.I.) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ในเขตรับผิดชอบ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. ข้อที่ 3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ หลังการอบรม มากกว่าร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. ข้อที่ 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดจากขยะและแหล่งแพร่กระจายโรคในชุมชน
    ตัวชี้วัด : จำนวนหลังคาเรือนที่เข้าร่วมโครงการ มากกว่าร้อยละ 70
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ขั้นเตรียมการ
    รายละเอียด
    1. ประชุมชี้แจงนโยบายเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ๒. ปรึกษาหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ๓. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ และแต่งตั้งทีมหนูน้อย พิชิตยุง เพื่อสำรวจลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน แก่เด็กนักเรียนในเขตรับผิดชอบจำนวน 2 แห่ง
    โรงเรียนบ้านวังประจันชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 จำนวนนักเรียน 54 คน โรงเรียนทุ่งมะปรังชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-ม.3จำนวนนักเรียน 71 คน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25บ.x125คน=3,125 บ.

    งบประมาณ 3,125.00 บาท
  • 3. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย กิจกรรมการสำรวจลูกน้ำยุงลาย เพื่อสร้างแรงจูงใจ ให้กับ อสม.และครัวเรือน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. กิจกรรมรณรงค์ปรับปรุงศาสนสถาน โรงเรียน และในชุมชน ร่วมสร้างสิ่งแวดล้อม และการรักษาความสะอาด ตามมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค และการจัดการขยะในครัวเรือน ด้วยหลัก 3 R (Reduce/ Reuse/ Recycle)
    รายละเอียด

    รณรงค์ปรับปรุงศาสนสถาน โรงเรียน และในชุมชน ร่วมสร้างสิ่งแวดล้อม และการรักษาความสะอาด ตามมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค และการจัดการขยะในครัวเรือน ด้วยหลัก 3 R (Reduce/ Reuse/ Recycle)และออกสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ 4 หมู่บ้านโดยอสม. จนท.สาธารณสุข ผู้นำชุมชน อปท.จำนวน 5 ครั้ง ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25บ.x 60 คน x 5 ครั้ง=7,500 บ.

    งบประมาณ 7,500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 15 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง โรงเรียนบ้านวังประจันและชุมชนหมู่ที่ 1 2 3 4

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 10,625.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (ค่า HI) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ 80 ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
  2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (CI) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด ในเขตรับผิดชอบ
  3. ชุมชน ศาสนสถาน และในโรงเรียน มีสภาพแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัยจากโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค และปลอดจากขยะและแหล่งแพร่กระจายโรคในชุมชน
  4. ทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  5. โรงเรียนและชุมชนมีการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ
  6. นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ หลังการอบรม มากกว่า ร้อยละ 80
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน รหัส กปท. L5286

อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน รหัส กปท. L5286

อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 10,625.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................