กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ รหัส กปท. L2506

อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมให้ความรู้ป้องกันบุหรี่ไฟฟ้าและยาเสพติดในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้านยะหอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านยะหอหมู่ที่ 10
กลุ่มคน
1นาย มูฮำหมัดนัสรี จอแตะ
2นาย อาแวแฉะ
3น.ส สุวะรีย์ ไชยพัฒพ์
4นาย ฮากีมี เจะโอ็ะ
5นาย มุสตากีมะแซ
3.
หลักการและเหตุผล

การใช้ยาเสพติดในกลุ่มวัยรุ่น ยังเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศไทย เป็นปัญหาที่สร้างความกังวลให้กับทุกคน เพราะไม่เพียงแต่ประเทศจะต้องสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นทรัพยากรอันมีค่าที่สุดของประเทศไปแล้ว ปัญหายาเสพติดยังนำมาซึ่งปัญหาอื่นอีกมากมาย ทั้งในแง่สังคมอย่าง เช่นการก่ออาชญากรรม ปล้น จี้ ฯลฯ เกิดปัญหาส่วนบุคคลในด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต เช่น ปัญหาทางจิต ปัญหาด้านสุขภาพ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ซึ่งรัฐบาลเองต้องสูญเสียเงินในการบำบัดอาการติดยา รักษาอาการติดยา ทั้งการเลิกยาไอซ์ เลิกยาบ้า เลิกกัญชา ฯลฯ สิ่งที่น่าวิตกกังวลคือวัยรุ่นที่ใช้สารเสพติดนั้นมีแนวโน้มที่จะอายุน้อยลงเรื่อยๆ มีการใช้สารเสพติดเพิ่มขึ้นในกลุ่มอายุ 12 – 19 ปี และในปี 2562 มีการสำรวจพบว่าเด็กและเยาวชนหรือวัยรุ่นใช้สารเสพติดเป็นจำนวนร้อยละ 3.72การติดยาเสพติดในกลุ่มวัยรุ่นจะเริ่มจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ ก่อนจะนำไปสู่สารเสพติดชนิดอื่นๆที่มีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ที่น่าวิตกยิ่งไปกว่านั้นคือในกลุ่มเด็กและเยาวชนหรือวัยรุ่น มีการใช้สารเสพติดร่วมกันมากกว่าหนึ่งชนิด และยังมีการใช้สารอื่นๆมาผสมเพื่อให้ออกฤทธิ์คล้ายสารเสพติดประกอบกับการแพร่ระบาดของบุหรี่ไฟฟ้าในประเทศไทยถือว่าเป็นสถานการณ์ที่น่าเป็นห่วง จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2565 พบว่า มีผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้าในกลุ่มเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นกว่า 10 เท่า จากเดิมในปี 2564 มีผู้ใช้บุหรี่ไฟฟ้าอยู่ประมาณ 78,742 คน แต่ในปี 2565 มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 709,677 คน โดยในกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุ 15 - 24 ปี มีผู้สูบเพิ่มขึ้น 10 เท่าเช่นกัน จากเดิม 24,050 คน เพิ่มเป็น 269,533 คน ทำให้สถานการณ์การแพร่ระบาดของบุหรี่ไฟฟ้าในเด็กและเยาวชนถือว่าเข้าขั้นวิกฤต โดยเฉพาะในปี 2566 - 2567 พบว่ามีเด็กและเยาวชนที่เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องมีอายุที่น้อยลง โดยที่พบเห็นเด็กที่มีช่วงอายุ 9 - 12 ปี เคยลองสูบบุหรี่ไฟฟ้าถึงร้อยละ 43 และประเด็นที่น่าเป็นห่วงอย่างยิ่ง คือ พบว่ามีนักเรียนหญิงสูบบุหรี่ไฟฟ้ามากกว่านักเรียนชาย ซึ่งปรากฏการณ์นี้ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน นอกจากนี้ ยังพบว่าเด็กประถมศึกษาตอนปลาย รวมถึงมัธยมศึกษาตอนต้น สูบบุหรี่ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 43 นอกจากนี้ บุหรี่ไฟฟ้าถือว่าเป็นต้นทางของการสูบบุหรี่ โดยเด็กและเยาวชนที่ไม่เคยสูบบุหรี่มาก่อนเมื่อได้ลองสูบบุหรี่ไฟฟ้าแล้วมีโอกาสเสี่ยงที่จะหันไปสูบบุหรี่มวนในอนาคตสูงขึ้น 2 - 12 เท่า รวมถึงมีพฤติกรรมเสี่ยงในการใช้สารเสพติดอื่น ๆ อันจะนำไปสู่ปัญหาหรือเกิดผลกระทบทางสังคมในอนาคต จากปัญหาและสถานการณ์ดังกล่าวทางชมรม อสม.ประจำหมู่บ้านยะหอ หมู่ที่ 10 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในสร้างความรู้และส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ห่างไกลจากบุหรี่ไฟฟ้าและยาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมให้ความรู้การป้องกันบุหรี่ไฟฟ้าและยาเสพติดในชุมชน ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อสร้างเด็กนักเรียนและเยาวชนเป็นผู้นำทีเข็มแข้งในอนาคตในการต่อต้านยาเสพติด
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชนได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหาบุหรี่ไฟ้ฟ้าและยาดสพติดในชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านกายและจิตใจให้เด็กนักเรียนและเยาวชน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชนไม่ตกเป็นทาสของอบายมุกด้วยวิธีหลักธรรมศาสนาอิสลาม
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 5. เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลร่วมกันแก้ปัญหาบุหรี่ไฟฟ้าและยาเสพติดในชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ส่งเสริมให้ความรู้ป้องกันบุหรี่ไฟฟ้าและยาเสพติดในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้าน ยะหอ
    รายละเอียด

    -กำหนดการ

    วันที่ 1

    08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียนรับเอกสารเข้าร่วมประชุม

    08.30 - 09.00น. พิธีเปิด

    09.00 – 12.00 น. อบรมให้ความรู้

    • กิจกรรม Ice breaking ละลายพฤติกรรมสร้างความคุ้นเคยและแบ่งกลุ่ม
    • พิษภัยของยาเสพติดและบุหรี่ไฟฟ้าในเยาวชน
    • สถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดและบุหรี่ไฟฟ้าในสังคมปัจจุบัน วิทยากร..........................................................................................

    12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง

    13.00 – 16.00 น. อบรมเชิงปฏิบัติการ

    • แบ่งกลุ่มปฏิบัติการวิเคราะห์สถานการณ์ยาเสพติดในโรงเรียนและในชุมชน
    • นำเสนอกลุ่ม
    • ซักถามปัญหา

    16.00 – 17.00 น. พักผ่อนตามอัฐยาศัย

    17.00 – 18.00 น. กิจกรรมสันทนาการและออกกำลังกาย

    18.00 – 18.30 น. ปฏิบัติภารกิจส่วนตัว /รับประทานอาหารเย็น

    18.30 – 19.30 น. ปฏิบัติศาสนกิจร่วมกัน

    19.30 – 20.00 น. พักผ่อนตามอัธยาศัย

    20.00 – 21.00 น. กิจกรรมการบรรยายให้ความรู้เรื่องศาสนานำทาง ห่างไกลบุหรี่และยาเสพติด วิทยากร อุสตะ..........................................................................................

    21.00 น. เป็นต้นไปพักผ่อน/เข้านอน

    วันที่ 2

    05.00 – 06.00 น. ตื่นนอน/ปฏิบัติศาสนกิจร่วมกัน

    06.00 - 07.00น. กิจกรรมการออกกำลังกาย สร้างสุขภาพ ห่างไกลโรค

    07.00 – 08.00 น. ปฏิบัติภารกิจส่วนตัว

    08.00 -09.00 น. รับประทานอาหารเช้า

    09.00 – 12.00 น. อบรมให้ความรู้ รู้จักยาเสพติดชนิดใหม่ ผู้ปฏิเสธอย่างสร้างสรรค์จำลองเหตุการณ์เพื่อนชวนลอง

    12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง

    13.00 – 16.00 น.อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เล่าเรื่อง,เปลี่ยนใจ,สร้างแรงบันดาลใจ,ซักถามปัญหา

    16.00 -16.30 น. มอบเกียรติบัตร และพิธีเปิด

    หมายเหตุ

    1. วันเวลา สถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
    2. วิทยากรบรรยายพร้อมจัดกระบวนการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/เจ้าหน้าที่รพ.หรือนักวิชาการที่รับผิดชอบงานด้านสิ่งแวดล้อม
    3. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม ภาคเช้า เวลา 10.30 น. ภาคบ่ายเวลา 14.30 น.

    -งบประมาณ

    1. ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1*3เมตร เป็นเงิน 750 บาท
    2. ค่าวัสดุอุปกรณ์ เช่น กระเป๋าผ้า สมุด ปากกา เป็นต้น จำนวน 80 ชุด ชุดละ 80 บาท เป็นเงิน 6,400 บาท
    3. ค่าวิทยากร จำนวน 13 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 7,800 บาท
    4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คน คนละ 4 มื้อ มื้อละ 30 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
    5. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คน คนละ 4 มื้อ มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน 16,000 บาท
    งบประมาณ 40,550.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์ตาดีกาบ้านยะหอ หมู่ที่ 10ต.บองออ.ระแงะจ.นราธิวาส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 40,550.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เด็กนักเรียนและเยาวชนได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหาบุหรี่ไฟ้ฟ้าและยาเสพติดในชุมชน
  2. เด็กและเยาวชนมีทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านกายและจิตใจให้เด็กนักเรียนและเยาวชน
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ รหัส กปท. L2506

อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ รหัส กปท. L2506

อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 40,550.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................