กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนเขตตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕๖๓

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนเขตตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕๖๓

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง

องค์การบริหารส่วนตำบลเรียง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส โรงเรียนประถมศึกษาในเขตตำบลเรียงอำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคในช่องปากเป็นปัญหาที่พบบ่อยในประชาชนทุกกลุ่มอายุ แม้เป็นโรคที่ไม่ส่งผลอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต แต่มักเป็นสาเหตุแรกๆที่ทำให้เกิดความรำคาญ ทั้งยังมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจโดยรวมอีกด้วย โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กวัยวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่เริ่มต้นเรียนรู้ เด็กที่มีสุขภาพดี จะสามารถเรียนรู้ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ดีและเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป ในทางตรงกันข้าม เด็กที่มีอาการปวดฟันบ่อยมักไม่มีสมาธิในการเรียน ขาดเรียนบ่อย ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ และอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเด็กในอนาคตต่อไปได้
การดำเนินงานบูรณาการงานส่งเสริมป้องกัน และเฝ้าระวังงานทันตสาธารณสุขจึงมีความสำคัญอย่างมากในการลดอัตราการเกิดโรคฟันผุแม้จะมีการสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมและทันตกรรมป้องกันอย่างเป็นรูปธรรมในโรงเรียนประถมศึกษา ได้แก่การตรวจสภาวะช่องปาก การเคลือบฟลูออไรด์วานิชการเคลือบหลุมร่องฟัน และการบริการทันตกรรมแบบผสมผสาน (Comprehensive Care) จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 8 โดยกองทันตสาธารณสุขพ.ศ. ๒๕60 ในระดับประเทศพบว่าความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 52.0 โดย มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.4 ซี่/คน ในขณะที่จังหวัดนราธิวาสจากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากในปี ๒๕62 พบว่าความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 46.50โดย มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.6 ซี่/คนและในอำเภอรือเสาะพบว่าความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 69.97โดย มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 2.5 ซี่/คนส่วนในเขตของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลเรียง พบว่าความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 48.15โดย มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.7 ซี่/คน เมื่อพิจารณาถึงวิธีในการแก้ไขปัญหาทางทันตสุขภาพ พบว่า การส่งเสริมให้เด็กนักเรียนดูแลและทำความสะอาดช่องปากด้วยตนเอง โดยการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ การสอนทันตสุขศึกษาในโรงเรียน และการรับบริการทันตกรรมแบบผสมผสานเพื่อให้การดำเนินงานเกิดประสิทธิผลสูงสุดในการป้องกันปัญหาโรคฟันผุซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีในการดูแลทันตสุขภาพของนักเรียน รวมทั้งยังเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกของการสร้างสุขภาพที่ดีในอนาคตด้วย
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลเรียง ได้เห็นถึงปัญหาและความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากเพื่อลดอัตราการเกิดโรคในเด็กนักเรียนประถมศึกษา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพนักเรียนประถมศึกษา ในโรงเรียนเขตตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2563 ขึ้น เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียน ครูและ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้ตระหนักถึงปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทางทันตสุขภาพต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนชั้น ป.๑ –ป. ๖ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและให้ทันตสุขศึกษา ๒. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคในช่องปากและฟันของเด็กนักเรียน ๓. เพื่อให้ครูอนามัยโรงเรียนและแกนนำนักเรียน มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคในช่องปาก การป้องกัน การรักษา และการบริโภคอาหารที่เหมาะสม
  1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนชั้น ป.๑ –ป. ๖ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและให้ทันตสุขศึกษา ๒. ร้อยละ 6๐ ของนักเรียนชั้น ป.๑ ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟัน           ๓. ร้อยละ ๗๐ ของของแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น           ๔. ร้อยละ ๘๐ ของครูอนามัยโรงเรียน  มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนเขต

ชื่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนเขต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เป็นเงิน ๑8,0๐0 บาท    (หนึ่งหมื่นแปดพันบาทถ้วน) เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้
     1. ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ (ขนาด 120 x 240 ซม.)  จำนวน 1 ผืน  เป็นเงิน   1,000  บาท        ๒. ประชุมเชิงปฏิบัติการ  “ทูตน้อยทันตรักษ์  พิทักษ์ฟันผุ”       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม    จำนวน ๒ มื้อๆ ละ ๒๕ บาท x 60 คน   เป็นเงิน    ๓,000 บาท                  - ค่าอาหารกลางวัน              จำนวน ๑ มื้อๆ ละ ๕๐ บาท x 60 คน  เป็นเงิน    ๓,000 บาท      ๓. ประชุมเชิงปฏิบัติการ  “ ครูอนามัยเชี่ยวชาญ  รู้เท่าทันโรคฟันผุ”       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม    จำนวน ๒ มื้อๆ ละ ๒๕ บาท x 8 คน  เป็นเงิน    400    บาท                 -  ค่าอาหารกลางวัน              จำนวน ๑ มื้อๆ ละ ๕๐ บาท x 8  คน        เป็นเงิน    400    บาท          4. ค่าชุดอุปกรณ์ฝึกแปรงฟัน     จำนวน 60 ชุดๆละ 60 บาท             เป็นเงิน    3,600  บาท          ๕. ค่าเอกสารในการจัดประชุม จำนวน 60 ชุดๆละ 50 บาท        เป็นเงิน    3,000 บาท
     6. ค่าตอบแทนวิทยากร  6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท          เป็นเงิน    3,600 บาท      รวมเป็นเงิน  ๑8,0๐0 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 ตุลาคม 2562 ถึง 28 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ(ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันฯ พ.ศ. 2557 ข้อ ๙) ชื่อหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน รพ.สต.ตำบลเรียงและ รพ.สต.บ้านซือเลาะ  ๙.1.1 หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.  ๙.1.2 หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล  ๙.1.3 หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของรัฐ เช่น สสอ.  ๙.1.4 หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน  ๙.1.5 กลุ่มหรือองค์กรประชาชน ๙.2 ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันฯ พ.ศ. 2557 ข้อ ๙) ๙.2.1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข [ข้อ ๙(1)] ๙.2.2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น [ข้อ ๙(2)] ๙.2.3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ [ข้อ ๙(3)] ๙.2.4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ ๙(4)] ๙.2.5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ [ข้อ ๙(5)] ๙.3 กลุ่มเป้าหมายหลัก(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯพ.ศ.2557) ๙.3.1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ๙.3.2 กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ๙.3.3 กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน ๙.3.4 กลุ่มวัยทำงาน ๙.3.5.1 กลุ่มผู้สูงอายุ ๙.3.5.2 กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ๙.3.6 กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ ๙.3.7 กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง ๙.4 กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมายหลัก

๙.4.1กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ๙.4.1.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ ๙.4.1.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง ๙.4.1.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพก่อนคลอดและหลังคลอด ๙.4.1.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้ ๙.4.1.5 การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ๙.4.1.6 การคัดกรองและดูแลรักษามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ๙.4.1.7 การส่งสริมสุขภาพช่องปาก ๙.4.1.8 อื่นๆ (ระบุ)

๙.4.2กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ๙.4.2.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ ๙.4.2.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง ๙.4.2.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ ๙.4.2.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้ ๙.4.2.5 การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย/กระบวนการเรียนรู้/ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์ ๙.4.2.6 การส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามวัย ๙.4.2.7 การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ๙.4.2.8 อื่นๆ (ระบุ)

๙.4.3กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน ๙.4.3.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ ๙.4.3.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง ๙.4.3.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ ๙.4.3.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้ ๙.4.3.5 การส่งสริมพัฒนาการตามวัย/กระบวนการเรียนรู้/ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์ ๙.4.3.6 การส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามวัย ๙.4.3.7 การป้องกันและลดปัญหาด้านเพศสัมพันธ์/การตั้งครรภ์ไม่พร้อม ๙.4.3.8 การป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ๙.4.3.9 อื่นๆ (การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก) ๙.4.4กลุ่มวัยทำงาน ๙.4.4.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ ๙.4.4.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง ๙.4.4.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ ๙.4.4.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้ ๙.4.4.5 การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มวัยทำงานและการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ๙.4.4.6 การส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตแก่กลุ่มวัยทำงาน ๙.4.4.7 การป้องกันและลดปัญหาด้านเพศสัมพันธ์/การตั้งครรภ์ไม่พร้อม ๙.4.4.8 การป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ ๙.4.4.9 อื่นๆ (ระบุ) ๙.4.5.1 กลุ่มผู้สูงอายุ ๙.4.5.1.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ ๙.4.5.1.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง ๙.4.5.1.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ ๙.4.5.1.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้ ๙.4.5.1.5 การส่งเสริมพัฒนาทักษะทางกายและใจ ๙.4.5.1.6 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะซึมเศร้า ๙.4.5.1.7 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะข้อเข่าเสื่อม ๙.4.5.1.8 อื่นๆ (การส่งสริมสุขภาพช่องปาก)

๙.4.5.2 กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ๙.4.5.2.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ ๙.4.5.2.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง ๙.4.5.2.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ ๙.4.5.2.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้ ๙.4.5.2.5 การคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ๙.4.5.2.6 การคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ ๙.4.5.2.7 การคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ๙.4.5.2.8 การคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ๙.4.5.2.9 อื่นๆ (ระบุ)

๙.4.6กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ ๙.4.6.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ ๙.4.6.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง ๙.4.6.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ ๙.4.6.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้ ๙.4.6.5 การส่งเสริมพัฒนาทักษะทางกายและใจ ๙.4.6.6 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะซึมเศร้า ๙.4.6.7 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะข้อเข่าเสื่อม ๙.4.6.8 อื่นๆ (ระบุ)
๙.4.7กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง ๙.4.7.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ ๙.4.7.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง ๙.4.7.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ ๙.4.7.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้ ๙.4.7.5 การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ๙.4.7.6 อื่นๆ (ระบุ)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ถูกต้องและนำความรู้ที่ได้
ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
๒. เด็กนักเรียนที่มีปัญหาทางสุขภาพช่องปากและฟันมีจำนวนลดลง
๓. ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับการพัฒนาศักยภาพในการส่งเสริมทันตสุขภาพ
๔. นักเรียนมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากของตนเอง


>