กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง รหัส กปท. L2513

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนเขตตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕๖๓
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
องค์การบริหารส่วนตำบลเรียง
3.
หลักการและเหตุผล

โรคในช่องปากเป็นปัญหาที่พบบ่อยในประชาชนทุกกลุ่มอายุ แม้เป็นโรคที่ไม่ส่งผลอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต แต่มักเป็นสาเหตุแรกๆที่ทำให้เกิดความรำคาญ ทั้งยังมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจโดยรวมอีกด้วย โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กวัยวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่เริ่มต้นเรียนรู้ เด็กที่มีสุขภาพดี จะสามารถเรียนรู้ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ดีและเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป ในทางตรงกันข้าม เด็กที่มีอาการปวดฟันบ่อยมักไม่มีสมาธิในการเรียน ขาดเรียนบ่อย ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ และอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเด็กในอนาคตต่อไปได้ การดำเนินงานบูรณาการงานส่งเสริมป้องกัน และเฝ้าระวังงานทันตสาธารณสุขจึงมีความสำคัญอย่างมากในการลดอัตราการเกิดโรคฟันผุแม้จะมีการสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมและทันตกรรมป้องกันอย่างเป็นรูปธรรมในโรงเรียนประถมศึกษา ได้แก่การตรวจสภาวะช่องปาก การเคลือบฟลูออไรด์วานิชการเคลือบหลุมร่องฟัน และการบริการทันตกรรมแบบผสมผสาน (Comprehensive Care) จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 8 โดยกองทันตสาธารณสุขพ.ศ. ๒๕60 ในระดับประเทศพบว่าความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 52.0 โดย มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.4 ซี่/คน ในขณะที่จังหวัดนราธิวาสจากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากในปี ๒๕62 พบว่าความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 46.50โดย มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.6 ซี่/คนและในอำเภอรือเสาะพบว่าความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 69.97โดย มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 2.5 ซี่/คนส่วนในเขตของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลเรียง พบว่าความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี คิดเป็นร้อยละ 48.15โดย มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.7 ซี่/คน เมื่อพิจารณาถึงวิธีในการแก้ไขปัญหาทางทันตสุขภาพ พบว่า การส่งเสริมให้เด็กนักเรียนดูแลและทำความสะอาดช่องปากด้วยตนเอง โดยการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ การสอนทันตสุขศึกษาในโรงเรียน และการรับบริการทันตกรรมแบบผสมผสานเพื่อให้การดำเนินงานเกิดประสิทธิผลสูงสุดในการป้องกันปัญหาโรคฟันผุซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีในการดูแลทันตสุขภาพของนักเรียน รวมทั้งยังเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกของการสร้างสุขภาพที่ดีในอนาคตด้วย ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลเรียง ได้เห็นถึงปัญหาและความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากเพื่อลดอัตราการเกิดโรคในเด็กนักเรียนประถมศึกษา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพนักเรียนประถมศึกษา ในโรงเรียนเขตตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2563 ขึ้น เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียน ครูและ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้ตระหนักถึงปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทางทันตสุขภาพต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนชั้น ป.๑ –ป. ๖ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและให้ทันตสุขศึกษา ๒. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคในช่องปากและฟันของเด็กนักเรียน ๓. เพื่อให้ครูอนามัยโรงเรียนและแกนนำนักเรียน มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคในช่องปาก การป้องกัน การรักษา และการบริโภคอาหารที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนชั้น ป.๑ –ป. ๖ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและให้ทันตสุขศึกษา ๒. ร้อยละ 6๐ ของนักเรียนชั้น ป.๑ ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟัน ๓. ร้อยละ ๗๐ ของของแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น ๔. ร้อยละ ๘๐ ของครูอนามัยโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนเขต
    รายละเอียด

    จากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เป็นเงิน ๑8,0๐0 บาท    (หนึ่งหมื่นแปดพันบาทถ้วน) เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้     1. ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ (ขนาด 120 x 240 ซม.)  จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน  1,000  บาท   ๒. ประชุมเชิงปฏิบัติการ  “ทูตน้อยทันตรักษ์  พิทักษ์ฟันผุ”       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม    จำนวน ๒ มื้อๆ ละ ๒๕ บาท x 60 คน  เป็นเงิน    ๓,000 บาท                 - ค่าอาหารกลางวัน              จำนวน ๑ มื้อๆ ละ ๕๐ บาท x 60 คน เป็นเงิน    ๓,000 บาท     ๓. ประชุมเชิงปฏิบัติการ  “ ครูอนามัยเชี่ยวชาญ  รู้เท่าทันโรคฟันผุ”       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม    จำนวน ๒ มื้อๆ ละ ๒๕ บาท x 8 คน เป็นเงิน    400    บาท                 -  ค่าอาหารกลางวัน              จำนวน ๑ มื้อๆ ละ ๕๐ บาท x 8  คน เป็นเงิน    400    บาท     4. ค่าชุดอุปกรณ์ฝึกแปรงฟัน    จำนวน 60 ชุดๆละ 60 บาท            เป็นเงิน    3,600  บาท     ๕. ค่าเอกสารในการจัดประชุม จำนวน 60 ชุดๆละ 50 บาท เป็นเงิน    3,000 บาท
        6. ค่าตอบแทนวิทยากร  6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน    3,600 บาท     รวมเป็นเงิน  ๑8,0๐0 บาท

    งบประมาณ 18,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส โรงเรียนประถมศึกษาในเขตตำบลเรียงอำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 18,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

๑. เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ถูกต้องและนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ๒. เด็กนักเรียนที่มีปัญหาทางสุขภาพช่องปากและฟันมีจำนวนลดลง ๓. ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับการพัฒนาศักยภาพในการส่งเสริมทันตสุขภาพ ๔. นักเรียนมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากของตนเอง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง รหัส กปท. L2513

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง รหัส กปท. L2513

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 18,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................