กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ รหัส กปท. L3061

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพทำสวนยางพารา
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
อบต.เกาะเปาะ
กลุ่มคน
นางสาวญาณญา เสาวิไล
3.
หลักการและเหตุผล

ปัญหาสุขภาวะที่พบเจอของผู้ประกอบอาชีพการทำสวนยางพารา คือร่างกายความทรุดโทรมของร่างกาย ซึ่งวิถีของชาวสวนยางสัมพันธ์กับสารเคมีหลายตัว ตั้งแต่ขั้นตอนเริ่มโค่น ปลูก กรีด ไปจนถึงขั้นการแปรรูปยาง นอกจากนี้มีการพักผ่อนน้อย จากสถิติของสมาคมเกษตรกรชาวสวนยาง 16 จังหวัดภาคใต้คนกรีดยางในปัจจุบันส่วนใหญ่จะมีโรคประจำตัวสูงถึง 70% โรคที่พบมากที่สุดคือภูมิแพ้ รองลงมาคือเบาหวาน นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมี จากข้อมูลมีรายละเอียดจะพบว่า คนกรีดยาง 1 คน กรีดยางเฉลี่ย 15 ไร่ ดังนั้นในเวลา 1 วัน จะมีการกรีดกว่า 1,200 ครั้ง และจะต้องเดินในสวนยางราวๆ7 กิโลเมตร นั่นหมายถึงกล้ามเนื้อและสายตาที่ถูกใช้ไปอย่างหนักหน่วง ยังไม่นับการหายใจท่ามกลางอากาศที่มีออกซิเจนต่ำในช่วงเวลากลางคืน และภัยจากสัตว์มีพิษ เช่น งู หรือตะขาบ อีกด้วย
ประชากรส่วนใหญ่ของตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี มีอาชีพหลัก คือ การทำสวนยาง แรงงานกลุ่มนี้จัดเป็นแรงงงานนอกระบบที่มีความเสี่ยงจากการทำงาน สาเหตุหนึ่งจากการสัมผัสความเสี่ยงเหล่านี้คือการใช้ท่าทางในการทำงาน การจัดสภาพแวดล้อม รวมทั้งการเลือกใช้อุปกรณ์เพื่อป้องกันความเสียงที่ไม่เหมาะสม การดำเนินมาตรการเชิงรุกในการตรวจการประเมินปัจจัยเสี่ยงด้วยวิธีวิเคราะห์ในกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม เพื่อลดอุบัติเหตุ รวมถึงการเกิดโรคโรคในการทำงาน จากสาเหตุสำคัญที่จะช่วยลดความรุนแรงของปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น คือ การส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้ประกอบอาชีพทำสวนองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเปาะ จึงได้จัดทำโครงการโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพทำสวนยางพาราเพื่อให้ประชาชนมีการจัดการความเสี่ยงในการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลเกาะเปาะ เพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยาง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 15.00
  • 2. เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง
    ขนาดปัญหา 15.00 เป้าหมาย 10.00
  • 3. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
    ตัวชี้วัด : มีจำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 3.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย(อสอช.) ตำบลเกาะเปาะ (7 เมษายน 2563)
    รายละเอียด

    อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย ให้ความรู้และพัฒนาทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุก การประเมินความเสี่ยง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการใช้งานแอพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูล
    -ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
    -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 15 คนๆละ 50 บาทๆละ 750 บาท
    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2 มื้อ) จำนวน 15 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
    -ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 1000 บาท
    -ค่าพาหนะในการเดินทางไปอบรม จำนวน 15 คนๆละ 2 เที่ยวๆละ 100 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท

    งบประมาณ 9,100.00 บาท
  • 2. สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา (8 -30 เมษายน 2563)
    รายละเอียด

    สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา โดยใช้แอพลิเคชั่นหรือแบบสอบถาม
    งบประมาณ
    -ค่าจ้างเหมาสำรวจและจัดเก็บข้อมูล จำนวน 50 ชุดๆละ 30 บาท รวมเป็นเงิน 1,500 บาท

    งบประมาณ 1,500.00 บาท
  • 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม และพัฒนามาตรการ ข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ(29 พฤษภาคม 2563))
    รายละเอียด

    ประชุมเชิงปฏิบัติการตัวแทนผู้นำชุมชน ตัวแทน อสอช.และผู้ประกอบอาชีพ ร่วมกันพัฒนารูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม มาตรการ ข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
    -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800บาท
    -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 15 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 750 บาท
    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (1 มื้อ) จำนวน 15 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 375 บาท
    -ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 1,000 บาท
    -ค่าป้าย ป้ายไวนิล ขนาด 1 x 3เมตร) แยกเป็น-ค่าป้ายโครงการ( ป้ายไวนิล ขนาด 1 x 3เมตร) จำนวน 1 ป้ายๆละ 750 บาท
    -ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ ( ป้ายไวนิล ขนาด 1 x 3เมตร) จำนวน 3 ป้ายๆละ 750 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท

    งบประมาณ 6,925.00 บาท
  • 4. อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ (3 กรกฎาคม 2563)
    รายละเอียด

    อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลเกาะเปาะ จำนวน 50 คน
    -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
    -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน คนละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(2 มื้อ) จำนวน 50 คนๆละ 25 บาทเป็นเงิน 2,500 บาท
    -ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 2,000 บาท
    -ค่าป้ายโครงการ( ป้ายไวนิล ขนาด 1 x 3เมตร) จำนวน 1 ผืนๆละ 750 บาท

    งบประมาณ 11,350.00 บาท
  • 5. ประชุมถอดบทเรียนและพัฒนานวัตกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา (11 กันยายน 2563)
    รายละเอียด

    ตัวแทนผู้นำชุมชน ตัวแทน อสอช. และตัวแทนผู้ประกอบอาชีพ จำนวน 65 คน ประชุมร่วมกันเพื่อถอดบทเรียนและพัฒนานวัตกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา
    -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 65 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 3,250 บาท
    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(1 มื้อ) จำนวน 65 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1625 บาท
    -ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 1,000 บาท --ค่าป้ายโครงการ( ป้ายไวนิล ขนาด 1 x 3เมตร) จำนวน 1 ผืนๆละ 750 บาท

    งบประมาณ 6,625.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 7 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเปาะ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 35,500.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เกิดฐานข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลเกาะเปาะ
  2. เกิดกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัย ตำบลเกาะเปาะ ที่มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุก การประเมินความเสี่ยง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการใช้งานแอพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูล
  3. เกิดรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลเกาะเปาะ
  4. เกิดมาตรการ ข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
  5. กลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลเกาะเปาะเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
  6. เกิดบทเรียนจากการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา
  7. เกิดนวัตกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ รหัส กปท. L3061

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ รหัส กปท. L3061

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 35,500.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................