กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารปลอดภัย ชุมชนเข้มแข็ง ประจำปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา

เทศบาลตำบลยะหา

70

เทศบาลตำบลยะหา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ตามแนวคิดหลักของการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบโดยมุ่งเน้นปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการได้แก่ด้านสุขภาพจิตการออกกำลังกายการอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วยปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารนับว่าเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนการจัดการอาหารที่ดี นอกจากจะคำนึงถึงรสชาติและยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารรวมถึงอสม.ต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารทุกขั้นตอนและตระหนักถึงความสำคัญในการประกอบการอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภคในเขตเทศบาลตำบลยะหา มีร้านจำหน่ายอาหาแผงลอยผ่านเกณฑ์และไม่ผ่านเกณฑ์ ดังนั้น เทศบาลตำบลยะหาได้เล็งเห็นความสำคัญของการปรับปรุงให้ถูกต้องได้มาตรฐานจึงได้จัดทำโครงการอาหารปลอดภัยชุมชนเข้มแข็งประจำปี
2563เพื่อไม่ให้ผู้บริโภคได้รับอันตรายหรือพิษภัยจากอาหารตามหลักสุขาภิบาลอาหารต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 2.1 เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการคุ้มครองผู้บริโภคและสามารถถ่ายทอดความรู้แก่ชุมชนได้ 2.2 เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้องด้านอาหารปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการ 2.3 เพื่อตรวจสารปนเปื้อนในอาหารที่จำหน่ายในหมู่บ้าน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 11/10/2019

กำหนดเสร็จ 11/10/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการอาหารปลอดภัย ชุมชนเข้มแข็ง ประจำปี 2563

ชื่อกิจกรรม
โครงการอาหารปลอดภัย ชุมชนเข้มแข็ง ประจำปี 2563
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าป้ายไวนิลโครงการฯ
    ขนาด 1x3 ม.จำนวน1ป้าย เป็นเงิน 750.-บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
    จำนวน70 คนๆ ละ 25 บาทจำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 3,500.-บาท
  3. ค่าอาหารกลางวัน
    จำนวน70 คนๆ ละ 50 บาทจำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 3,500.-บาท
  4. ค่าสมนาคุณวิทยากรฝึกอบรมจำนวน 2ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200.-บาท
  5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ฝึกอบรม จำนวน70ชุดๆละ 155บาทเป็นเงิน 10,850.-บาท ( ผ้ากันเปื้อน ,กระเป๋าถุงผ้า )
    รวมเป็นเงิน19,800.-บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 สถานที่ประกอบอาหารและแผงลอยได้ปรับปรุงให้ถูกสุขลักษณะ สะอาด และปลอดภัยตามมาตรฐาน
ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร
2 ประชาชนผู้มาใช้บริการมีความมั่นใจในการบริโภคอาหาร
3 สถานที่ประกอบการอาหารและแผงลอยในเขตเทศบาลเป็นสถานที่ประกอบการระดับมาตรฐาน
4 อสม. มีความรู้และสามารถถ่ายทอดสู่การปฏิบัติให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน
5 ผู้ประกอบการมีความตระหนักรับผิดชอบในการดูแลคุ้มครองผู้บริโภคของชุมชน


>