กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
กลุ่มเกษตรกรบ้านโคก
กลุ่มคน
1. นายอับดุลเลาะบือราเฮง (ประธาน)
2. นางสาวเจ๊ะซงหะยีเจ๊ะอามะ (รองประธาน)
3. นายมะเย็งยามา (เลขานุการ)
4. นายตอเละอูมา (เหรัญญิก)
5. นายอาแวยามา (ประชาสัมพันธ์
3.
หลักการและเหตุผล

ต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษ เพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง ทั้งนี้การบริโภคผักที่ปลอดสารพิษในปริมาณที่เหมาะสมเป็นประจำ จะช่วยทำให้ร่างกายมีสุขภาพที่ดี ไม่เจ็บได้ง่าย ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถป้องกันทำให้ได้ผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโภค หากคนในชุมชนไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกัน และกำจัดศัตรูพืชลดต้นทุนทั้งนี้ผลผลิตของเกษตรกรในด้านค่าใช้จ่าย ต่างๆ เช่น มีค่าใช้จ่ายในซื้อสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืชที่ลดลง และยังสามารถแจกจ่ายผัก ผลไม้ ให้แก่คนในชุมชนเพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนกลับมาดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงในการบริโภคปลอดสารพิษ อีกทั้งปัจจุบันนี้ปัญหาของขยะอินทรีย์เป็นปัญหาที่สำคัญอีกปัญหาหนึ่งโดยปัญหาที่เกิดขึ้นมีผลมาจากหลายสาเหตุ ส่วนหนึ่งที่เกิดจากบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ซึ่งขยะในครัวเรือนจะเป็นขยะที่สามารถเน่าเสียได้ มีผลให้เกิดความเน่าเสียส่งกลิ่นเน่าเหม็น มีผลให้การจัดการขยะอื่นๆ มีความยุ่งยากมากขึ้นอีก และจากปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลให้รัฐบาลจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นงบประมาณในการจัดการขยะในแต่ละปีค่อนข้างสูง ดังนั้นแนวทางหนึ่งที่มีต้นทุนต่ำ และมีการจัดการที่ไม่ยุ่งยาก และไม่ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ต่อการจัดการขยะอื่นๆ คือ การจัดการกำจัดในแต่ละครัวเรือน ด้วยกระบวนการจัดการขยะเปียกในชุมชนโดยใช้บ่อก๊าซชีวภาพ สามารถนำมาใช้บำบัดของเสียอินทรีย์ที่ให้ก๊าซชีวภาพเป็นผลพลอยได้ และยังสามารได้รับประโยชน์ด้านสภาพแวดล้อม โดยการนำมูลสัตว์ ปัสสาวะ น้ำล้างคอกมาทิ้งลงในบ่อก๊าซชีวภาพ จะช่วยให้กลิ่นเหม็นและแมลงวันในบริเวณนั้นลดลง ผลจากการหมักมูลในบ่อเป็นเวลานานๆ ทำให้ไข่พยาธิหรือมูลสัตว์ถูกทำลายหรือตายด้วย ซึ่งเป็นการทำลายแหล่งเพาะเชื้อโรคบางชนิด เช่น โรคบิด อหิวาตกโรค และพยาธิที่แพร่กระจายจากมูลสัตว์ด้วยกัน นอกจากนี้ยังเป็นการป้องกันไม่ให้มูลสัตว์ถูกชะล้างลงไปในแหล่งน้ำธรรมชาติอีกด้วย ปัจจุบันตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง มีศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นแปลงสาธิต และเป็นพื้นที่ทำกินของชาวบ้านใช้ในการสร้างผลผลิตทางการเกษตร และเป็นแหล่งเรียนรู้วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
ดังนั้นกลุ่มเกษตรกรบ้านโคก ตำบลจวบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อแจกจ่ายให้กับคนในชุมชนเพื่อเป็นไปตามแนวทางของหลักเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถจัดการขยะเปียกในชุมชนโดยใช้บ่อก๊าซชีวภาพเพื่อลดการแพร่กระจ่ายเชื้อโรคจากสัตว์นำโรค สามารถนำร่องเป็นตัวอย่างของการสร้างต้นทุนพลังงานในชุมชนด้วยของเสียในชุมชนของตนเองได้ดีขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชนโดยการบริโภคผักปลอดสารพิษ 2. เพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อโรคจากสัตว์นำโรคได้จัดการขยะอินทรีย์ 3. เป็นต้นแบบและแหล่งเรียนรู้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้การจัดการขยะอินทรีย์
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนในชุมชนบริโภคผักปลอดสารพิษ 2. มีการจัดการขยะโดยบ่อชีวภาพ 3. เป็นต้นแบบและแหล่งเรียนรู้ให้ประชาชนได้ศึกษา และต่อยอด
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. รณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษ
    รายละเอียด

    -กิจกรรมปลูกผักกางมุ้งปลอดสารพิษ
    - ค่ามุ้ง 5ม้วน ราคาม้วนละ 1,200x5 =6,000 - เหล็ก 32เส้นๆละ 300x32 =9,600 - ไม้ =1000 - อุปกรณ์ จอบ2ชุด =500 - รถเข็น 1คัน =700 - ท่อเล็ก 5ท่อ ราคา 130บาทx5 =650 - ท่อใหญ่ 5ท่อ ราคา 200บาทx5 =1,000 - เมล็ดพันธ์ 25ถุงๆละ 20บาทx25 =500 - ปุ๋ยคอก 50กระสอบๆละ 40x50 =2,000 รวม 2,1950

    งบประมาณ 21,950.00 บาท
  • 2. รณรงค์การจัดทำบ่อก๊าซชีวภาพ
    รายละเอียด

    -กิจกรรมจัดทำบ่อก๊าซชีวภาพ
    - ปล้องบ่อ 4ปล้องขนาด90x80x250บาทx2 =2,000 - ฝาปิดปากบ่อขนาด90x80x150บาทx1 ฝาx2 =300 - ทราย4 ถุง x100 บาทx2=800 - กระถางต้นไม้ ปูน1 ชุดx450x2 =900 - ท่อพีวีซีขนาด 4 นิ้ว 1ท่อนx450บาทx2 =900 - ท่อพีวีซีขนาด 1/2 นิ้ว 3ท่อนx70บาทx2=420 - ท่อพีวีซีขนาด 1 นิ้ว 2 เมตรx30บาทx2 =120 - 3 ทางขนาด ½ นิ้ว 3ตัวx15 บาทx2=90 - ท่อตรง ขนาด1/2 นิ้ว3 ตัวx 10 บาทx2=60 - ข้องอขนาด1/2 นิ้ว 3ตัวx10 บาทx2 = 60 - ประตูน้ำขนาด ½ นิ้ว 3 ตัวx60 บาทx2=360 - ที่ปิดท่อขนาด1/2 นิ้ว2 ตัว x 15 บาทx2 =60 - ท่อลูกขนาด 1/2 นิ้ว2 ตัว x 20 บาทx2 =80 - เกลียวใน ขนาด1/2 นิ้ว1 ตัวx 15 บาทx2= 30 - สายรัด (เหล็ก) 2 ตัวx20 บาทx2 =80 - สายยางแก๊ส2 เมตรx80 บาทx2 =320 - กาวติดท่อ 2 กระป๋องx 70บาทx2=280 - เกลียวนอกเหล็ก1 ตัวx 75 บาทx2=150 - ลวดตาข่ายเหล็ก 3 เมตรx80 บาทx2=480 - ค่าแรง วันละ300 บาทx2x 3 คนx 5 วัน=9,000 รวม 16,490

    งบประมาณ 16,490.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 2 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

บ้านโคก ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 38,440.00 บาท

หมายเหตุ : ประชุมคณะกรรมการกองทุกหลักประกันสุขภาพตำบลจวบ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ ดำเนินกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพปลูกผักปลอดสารพิษ -ปลูกผักปลอดสารพิษในรูปแบบผักกางมุ้ง -นำผักปลอดสารพิษไปแจกจ่ายให้ประชาชนบริโภคในโครงการอำเภอเคลื่อนที่ กิจกรรมกำจัดขยะโดยการทำบ่อแก๊ซชีวภาพ -จัดทำบ่อแก๊ซชีวภาพในศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างต้นแบบในการกำจัดขยะเปียกครัวเรือนที่ได้จากการขนขยะเปียกในชุมชน

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนมีความตระหนักในการกำจัด ขัดแยกขยะเปียกในชุมชนได้มากขึ้น
  2. ประชาชนในตำบลจวบได้ความรู้ในการใช้บ่อก๊าซชีวภาพเพื่อลดการแพร่กระจ่ายของเชื้อโรคจากสัตว์นำโรคได้มากยิ่งขึ้น
  3. ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารปลอดสารพิษและมีภาวะสุขภาพที่ดี
  4. ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือน
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 38,440.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................