แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069
อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.นายมามะ หะยีสามะ
2.นายอารีดี ปากบารา
3.นางสาวกฤติยา ประถมปัทมะ
4.นางสาวสุปรานี ชูกลับ
5.นางสาวรุสมีมี อาแว
ตามที่รัฐบาลได้มีการกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทำงานและบริการอาชีวะอนามัยในสถานประกอบการของไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ถึง 2564 ตลอดจนการดำเนินการพัฒนาด้านอาชีวอนามัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุง แก้ไข พัฒนา และการยกระดับมาตรฐานในด้านความปลอดภัยในการทำงานและการบริการอาชีวอนามัยในสถานประกอบการสำหรับสถานที่ต่างๆ เช่น สถานที่ราชการ สถานที่ประกอบการเอกชน ตลาด ร้านอาหาร โรงงาน เป็นต้น เพื่อให้สถานที่ต่างๆได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานตามที่กำหนดอันจะทำให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการบริการด้านความปลอดภัยในการทำงานและการบริการอาชีวอนามัยในสถานประกอบการเพิ่มขึ้น โรคที่เกิดจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพ เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคลครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติเมื่อเกิดกับบุคคลที่อยู่ในวัยทำงานและมีบทบาทความรับผิดชอบสำคัญของครอบครัวย่อมส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อครอบครัวและสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดกับผู้ประกอบอาชีพอิสระนอกระบบ เช่น เกษตรกร ประมง ร้านอาหาร/ขนม ซ่อมรถ ซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า ก่อสร้าง เป็นต้น เพราะผู้ที่ประกอบอาชีพเหล่านี้เป็นเจ้าของกิจการเองไม่ได้รับค่าจ้างจากผู้อื่นในลักษณะของเงินเดือนหรือค่าแรงประจำ และรับผิดชอบต่อการดำเนินการทั้งในส่วนของกำไร หรือขาดทุน หากเกิดการเจ็บป่วยหรือประสบเหตุอันตรายไม่สามารถทำงานได้ ย่อมขาดรายได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในครัวเรือนและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว ดังนั้นการส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องด้านสุขภาพและป้องกันโรคให้กับผู้ประกอบอาชีพ จึงเป็นเรื่องสำคัญ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจในครัวเรือนของผู้ประกอบอาชีพ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาความรู้ การดูแลสุขภาพแรงงานนอกระบบ เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคจากการทำงาน สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากการทำงานให้กับกลุ่มอาชีพ
-
1. เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพตัวชี้วัด : ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลงขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 5.00
-
2. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 25.00
-
3. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงานตัวชี้วัด : มีจำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้นขนาดปัญหา 5.00 เป้าหมาย 10.00
- 1. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย ให้ความรู้และพัฒนาทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัย การประเมินความเสี่ยงความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการใช้แอพพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูลรายละเอียด
1.1 อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย ให้ความรู้และพัฒนาทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัย การประเมินความเสี่ยงความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการใช้แอพพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูล
1.2 กิจกรรมการสำรวจข้อมูลแรงงานนอกระบบ งบประมาณ ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท.x 1 คน x 5 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,000 บาท ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม จำนวน 18คนๆละ.x 50 บาท เป็นเงิน 900 บาท ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 x 18 คน เป็นเงิน 900 บาท ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 3 ม. จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 720 บ. ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น เป็นเงิน 1,330 บาท ค่าตอบแทนการสำรวจ จำนวน 180 ชุด x ชุดละ 15 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท รวมเป็นเงิน9,550 บาทงบประมาณ 9,550.00 บาท - 2. กิจกรรม อบรมให้ความรู้ ส่งเสริมและป้องกันโรคของผู้ใช้แรงงานนอกระบบ ในกลุ่มของเกษตรกรสวนยางพารารายละเอียด
ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท.x 1 คน x 5 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,000 บาท ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม จำนวน 50 คนๆละ.x 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 x 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น เป็นเงิน 2,450 บาท รวมเป็นเงิน 10,450 บาท
งบประมาณ 10,450.00 บาท - 3. 3 กิจกรรม ตรวจสุขภาพกลุ่มผู้ใช้แรงงานนอกระบบเกษตรกรสวนยางพารา เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูล 3.1 ตรวจสุขภาพประจำเดือนในกลุ่มเกษตรกรสวนยางพารา เดือนละ 2 ครั้ง 3.2 ประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลต่อไปรายละเอียด
3.1 ตรวจสุขภาพประจำเดือนในกลุ่มเกษตรกรสวนยางพารา เดือนละ 2 ครั้ง 3.2 ประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลต่อไป งบประมาณ
-ไม่ใช้งบประมาณ-งบประมาณ 0.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
อบต.ปุโละปุโย
รวมงบประมาณโครงการ 20,000.00 บาท
หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายสามารถถัวเฉลี่ยกันได้
1.อบต.ปุโละปุโย มีระบบฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบด้านอาชีพและระบบสุขภาพในพื้นที่ เพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาต่อไป 2.เกิดแกนนำ อสอช.ในองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย อย่างน้อยจำนวน 18 คน 3.กลุ่มแรงงานนอกระบบเกษตรกรสวนยางพารา ได้รับความรู้ได้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงาน และสามารถนำไปปฏิบัติได้
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069
อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069
อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................