กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ามะเขือ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพช่องปาก ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ามะเขือ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะเขือ

ตำบลท่ามะเขือ อ.คลองขลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพช่องปาก

 

52.78

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากและดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง

ร้อยละผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก

52.78 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 210
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สัปดาห์สุขภาพช่องปาก

ชื่อกิจกรรม
สัปดาห์สุขภาพช่องปาก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.๑ให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้สูงอายุ และผู้ที่เข้ารับการอบรม เรื่องที่ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้เข้ารับการอบรม -ปริทันต์ -ฟันผุ -หินปูน -ฟันสึก -ฟันปลอม -ฟลูออไรด์ -การรักษาอนามัยช่องปาก -การทำน้ำยาบ้วนปาก ๑.๒ ชุดฒ. ฟันดี -จัดทำเอกสาร ฒ.ฟันดี โดยเน้นเนื้อหาที่อ่านแล้ว คนอ่านเกิดความรู้สึก ตระหนัก และใส่ใจในการดูแลสุขภาพช่องปากยิ่งขึ้น -แนะนำและฝึกปฎิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธี

๑.๓ น้ำยาบวนปากสมุนไพรด้วยมือเรา ส่วนประกอบ -กานพลู ใช้ประมาณ๑อุ้งมือ หรือมากน้อยตามถนัดมีรสเผ็ด -อบเชย ช่วยให้มีกลิ่นหอม

-เปปเปอร์มิ้นท์ รสเย็น ใส่ประมาณ ๒-๓ หยด
-น้ำสะอาด ประมาณ ๑ ลิตร ค่าใช้จ่าย ๑. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน๑ ผืน เป็นเงิน ๖๐๐บาท ๒.ค่าอาหารกลางวันจำนวน ๒๔๖ คนๆ ละ ๙๐ คน เป็นเงิน ๒๒,๑๔๐บาท ๓.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ๒๔๖ คน คนละ ๓๐ บาทเป็นเงิน ๗,๓๘๐ บาท ๓. ชุดฝึกปฎิบัตการแปรงฟัน (ชุด ฒ. ฟันดี) จำนวน ๒๑๐ ชุดๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน ๕,๒๕๐ บาท ๔.ค่าอุปกรณ์ทำน้ำยาบ้วนปาก
-กานพลู ๓ กิโลกรัมๆ ละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐บาท -อบเชย 1 กิโลกรัมๆ ละ ๓๙๐บาท เป็นเงิน ๓๙๐ บาท -เปปเปอร์มินท์ 50 กรัม เป็นเงิน๒๕๐ บาท -ขวดยา ๒๑๐ ขวดๆ ละ ๓ บาท เป็นเงิน๖๓๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๓๘,๔๔๐บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมสามารถทำน้ำยาบ้วนปากจากสมุนไพรได้ด้วยตนเอง 2.ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 3.ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
38440.00

กิจกรรมที่ 2 เฝ้าระวังสภาวะทันตสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
เฝ้าระวังสภาวะทันตสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-เฝ้าระวังสภาวะทันตสุขภาพ     -ติดตามการทำและการใช้ น้ำยาบ้วนปากจากสมุนไพร
    -รายงานผลต่อเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะเขือ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดำเนินกิจกรรมต่อ และรายงานผลต่อเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะเขือ ทุก ๓ เดือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 38,440.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยแทนกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น
๒. ผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก
๓. เกิดความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
๔.ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมสามารถทำน้ำยาบ้วนปากจากสมุนไพรได้ด้วยตนเอง
๕.ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี
๖.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดำเนินกิจกรรมต่อ และรายงานผลต่อเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะเขือ ทุก ๓ เดือน


>