แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน รหัส กปท. L8406
อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก และยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูล รง. 506 ของงานระบาดวิทยา โรงพยาบาลควนโดน ได้รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในปี 2560 พบผู้ป่วยจำนวน 15 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 159.32 ต่อประชากรแสนคน ปี 2561 พบผู้ป่วยจำนวน 48 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 564.70 ต่อประชากรแสนคน และปี 2562 พบผู้ป่วยจำนวน 67 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 701.50 แต่ยังไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต โดยพบเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และกลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ15 - 24 ปี, 5 - 9 ปี และ 10 - 14 ปีขึ้นไปตามลำดับ พบผู้ป่วยสูงที่สุดในเดือน เมษายน – มิถุนายน หมู่บ้านที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือ หมู่ 7 หมู่ 1 และหมู่ 6 ตามลำดับ จากผลการดำเนินงานโครงการรณรงค์โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 พบว่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่ได้สุ่มสำรวจ โดยคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง สำรวจ 4 ครั้ง ทั้งหมด 8 หมู่บ้าน โดยครั้งที่ 4 พบหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์ ค่า HI ต่ำกว่า 10 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งหมด 8 หมู่บ้าน และจากผลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ในสถานที่ราชการ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ มัสยิด จำนวน 12 แห่ง พบว่า มีค่า CI = 0 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนด
-
1. ข้อที่ 1. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (H.I.) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (H.I.) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 80.00
-
2. ข้อที่ 2. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน (C.I.) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ในเขตรับผิดชอบตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน (C.I.) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ในเขตรับผิดชอบขนาดปัญหา 66.66 เป้าหมาย 100.00
-
3. ข้อที่ 3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ หลังการอบรม มากกว่าร้อยละ 80ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 80.00
-
4. ข้อที่ 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดจากขยะและแหล่งแพร่กระจายโรคในชุมชนตัวชี้วัด : จำนวนหลังคาเรือนที่เข้าร่วมโครงการ มากกว่าร้อยละ 70ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 70.00
- 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆรายละเอียด
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ และสำรวจลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน แก่แกนนำนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 - 6 ในโรงเรียนที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ อบต. ควนโดน จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านควนโต๊ะเหลง จำนวนนักเรียน 50 คน โรงเรียนบ้านดูสนจำนวนนักเรียน 56 คน โรงเรียนบ้านบูเก็ตยามูจำนวนนักเรียน 50 คน
งบประมาณ
โรงเรียนบ้านควนโต๊ะเหลง- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท
โรงเรียนบ้านดูสน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 56 คน ๆ ละ25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,800 บาท
โรงเรียนบ้านบูเก็ตยามู
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท
งบประมาณ 7,800.00 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท
- 2. กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรครายละเอียด
กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค
งบประมาณค่าอาหารว่างและอาหารกลางวัน จำนวน 102 คน ๆ ละ 100 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 10,200 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
งบประมาณ 12,000.00 บาท - 3. กิจกรรมรณรงค์สร้างสิ่งแวดล้อมเชิงรุกในชุมชน ร่วมสร้างสิ่งแวดล้อม และการรักษาความสะอาด ตามมาตรการ 3 เก็บ 3 โรครายละเอียด
กิจกรรมรณรงค์สร้างสิ่งแวดล้อมเชิงรุกในชุมชน ร่วมสร้างสิ่งแวดล้อม และการรักษาความสะอาด ตามมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค และการจัดการขยะในครัวเรือน ด้วยหลัก 3 R (Reduce/ Reuse/ Recycle) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวมพลังสร้างสุขภาพและป้องกันโรคที่มียุงเป็นพาหะ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย ฯลฯ และสร้างชุมชนสะอาดปราศจากขยะ โดยทุกภาคีมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน
งบประมาณ
หมู่ 2
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 3 มื้อ เป็นเงิน 1,875 บาท
หมู่ 3
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 3 มื้อ เป็นเงิน 750 บาท
หมู่ 4
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 3 มื้อ เป็นเงิน 2,250 บาท
หมู่ 6
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 3 มื้อ เป็นเงิน 2,250 บาท
หมู่ 7
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 3 มื้อ เป็นเงิน 1,875 บาท
หมู่ 8
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 15 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 3 มื้อ เป็นเงิน 1,125 บาท
หมู่ 9
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 15 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 3 มื้อ เป็นเงิน 1,125 บาท
หมู่ 10
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 3 มื้อ เป็นเงิน 750 บาท
งบประมาณ 12,000.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
พื้นที่ หมู่ 2,3,4,6,7,8,9,10
รวมงบประมาณโครงการ 31,800.00 บาท
- นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและโรคติดต่ออื่นๆ หลังการอบรม มากกว่า ร้อยละ 80
- ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (ค่า HI) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ 80 ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
- ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (CI) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด ในเขตรับผิดชอบ
- ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน รหัส กปท. L8406
อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน รหัส กปท. L8406
อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................