กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ศบกต.นาทอน ร่วมสร้างเกษตรเชิงสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อมชุมชนตำบลนาทอน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน

ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบลนาทอน

1.นายจาตุรงค์ ส่งแสง 087-3983084
2.นายฉ่ำ เต้งเฉี้ยง
3.นายบัญชาติ่งหะ
4.นายมานิตร์ รอเกตุ
5.นายบาเสด พันหาบ

ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบลนาทอน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

พื้นที่ตำบลนาทอนเป็นพื้นที่มีประชากรรวม 7,350 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ประมง เลี้ยงสัตว์ เกินร้อยละ 50 ของประชากรทั้งตำบล ภาคการเกษตรส่วนใหญ่ดำเนินการไปตามกระแสสังคมที่ทำเกษตรโดยใช้สารเคมี ทั้งทางตรงและทางอ้อม ส่งผลต่อสุขภาพเนื่องจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย
โครงการ ศบกต.นาทอน ร่วมสร้างเกษตรเชิงสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อมชุมชนตำบลนาทอน ถือเป็นอีกโครงการหนึ่งในการสร้างพื้นที่ทำกิจกรรมด้านการเกษตรปลอดสารเคมี ภายใต้การปลูกพืชที่ใช้บริโภคทั่วไปที่มีความหลากหลาย เป้าหมายโดยการทำแปลงสาธิตเกษตรปลอดสารเคมีต้นแบบ ณ ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบลนาทอน โดยคณะกรรมการศูนย์ฯ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงาน และการรณรงค์ร่วมสร้างกระแสการทำเกษตรปลอดสารเคมีสู่สิ่งแวดล้อมที่ดี

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่ออบรม สาธิตให้ความรู้แก่คณะกรรมการและผู้เข้าร่วมเกี่ยวกับการเกษตรปลอดสารเคมี การเกษตรเชิงสุขภาพตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม มีความรู้แก่คณะกรรมการและผู้เข้าร่วมเกี่ยวกับการเกษตรปลอดสารเคมี การเกษตรเชิงสุขภาพตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

80.00 70.00
2 เพื่อรณรงค์ร่วมสร้างกระแสการทำเกษตรปลอดภัยส่งผลดีต่อสุขภาพตนเอง ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อมชุมชน

ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วม สามารถสร้างการเกษตรปลอดภัยส่งผลดีต่อสุขภาพตนเอง ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อมชุมชน

60.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมหัวข้อ “การเกษตรปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาพดีต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม” (ภาคเช้า) และกิจกรรมเดินรณรงค์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมหัวข้อ “การเกษตรปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาพดีต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม” (ภาคเช้า) และกิจกรรมเดินรณรงค์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วันที่ 1 - กิจกรรมอบรมหัวข้อ“การเกษตรปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาพดีต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม” (ภาคเช้า)
- กิจกรรมเดินรณรงค์ร่วมสร้างกระแสการทำเกษตรปลอดสารเคมีสู่สิ่งแวดล้อมที่ดี (ภาคบ่าย)
รายละเอียดค่าใช้จ่ายในกิจกรรม วันที่ 1

  • ป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท
  • ค่าป้ายรณรงค์ จำนวน 5 ป้ายๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่าวิทยากร จำนวน 2 คนละ 3 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 40 ชุดๆละ 20 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,600 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คนๆละ 60 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 2,400 บาท
    รวมเป็นเงิน 7,800.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมมีองค์ความรู้ด้านการเกษตรปลอดสารเคมี สามารถนำไปปฏิบัติในครัวเรือน สร้างสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7800.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมหัวข้อ “การทำเกษตรเชิงสุขภาพตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” (ภาคเช้า) และกิจกรรมสาธิต

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมหัวข้อ “การทำเกษตรเชิงสุขภาพตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” (ภาคเช้า) และกิจกรรมสาธิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วันที่ 2 -กิจกรรมอบรมหัวข้อ “การทำเกษตรเชิงสุขภาพตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” (ภาคเช้า)
-กิจกรรมสาธิตการทำเกษตรเชิงสุขภาพบนวิถีพอเพียง (ภาคบ่าย)
รายละเอียดค่าใช้จ่าย วันที่ 2

  • ค่าวิทยากร จำนวน 2 คนๆ 3 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ จำนวน 40 คนๆละ 60 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 2,400 บาท
  • ค่าวัสดุสาธิตเป็นเงิน 3,900 บาท
    ดินปลูก50 ถุงๆละ 25 บาท 1,250 บาท
    พันธุ์พืชผัก 10 ห่อๆละ 15 บาท 150 บาท
    ต้นกล้า 50 ต้นๆละ 5 บาท 250 บาท
    ปุ๋ยคอก 15 กระสอบๆละ50 บาท 750 บาท
    แกลบดำ 15 กระสอบๆละ 50 บาท 750 บาท
    ขุยมะพร้าว 15 กระสอบๆละ 50 บาท 750 บาท
    รวมเป็นเงิน 9,700.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบลนาทอน มีแปลงสาธิตการทำเกษตรปลอดสารเคมี สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้เข้าร่วมมีองค์ความรู้ด้านการเกษตรปลอดสารเคมี สามารถนำไปปฏิบัติในครัวเรือน สร้างสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี
2.ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบลนาทอน มีแปลงสาธิตการทำเกษตรปลอดสารเคมี สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนได้
3.ชุมชนเกิดกระแสการด้านการทำเกษตรปลอดภัย


>