กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน รหัส กปท. L3310

อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยDM,HT
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
รพ.สต.บ้านโคกยา
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรัง และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลก ถึงแม้ว่าจะมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการเกี่ยวข้องกับโรคเบาหวาน แต่ความชุกและอุบัติการณ์ กลับเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งในชุมชนเมืองและในชนบทอีกทั้งผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานนั้น ถ้ามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม จะเกิดภาวะแทรกซ้อน ทั้งทางตา ไต เท้า สมอง หัวใจหรืออาจหมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง หมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ติดเชื้อง่าย หลอดเลือดตีบหรือแตกในสมอง ทำให้เป็นอัมพาตได้ผลกระทบของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน มีทั้งกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว คือ จะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆการรักษาพยาบาล รวมทั้งสูญเสียอวัยวะ และความพิการซึ่งเกิดขึ้นได้มาก กว่าคนปกติ รวมทั้งมีผลกระทบถึงสภาพจิตใจด้วย นอกจากนี้ผลเสียทางอ้อมอันเกิดจากภาวะแทรกซ้อนและการมีพยาธิสภาพ ซึ่งทำให้เกิดความพิการหรือไร้สมรรถภาพ เช่น ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ขาดรายได้จากการทำงาน สมรรถภาพในการทำงานลดลง การสูญเสียทรัพยากรบุคคลและอาจมีอายุสั้นกว่าปกติ ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ อีกทั้งรัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการนำเข้าเวชภัณฑ์จากต่างประเทศ และค่าใช้จ่ายในด้านอุปกรณ์การตรวจโรคและโรคแทรกซ้อนด้วยเหตุที่โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรัง การรักษาเพื่อควบคุมโรคนั้นประกอบไปด้วยการควบคุมอาหาร การใช้ยา การออกกำลังกาย และการปฏิบัติตามหลัก 3 อ.2ส. การดูแลสุขภาพทั่วไป ซึ่งถ้าผู้ป่วยรู้จักปฎิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมแล้ว ก็จะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตใกล้เคียงกับคนปกติและสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้ยืนยาวและมีความสุข
จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมดแยกเป็นรายหมู่ หมู่ที่ 1 จำนวน 42 คน หมู่ที่ 9 จำนวน 40 คน หมู่ที่ 14 จำนวน 25 คน รวมทั้งหมด107 คน ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนจำนวน 64 คนพบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 1 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด แยกเป็นรายหมู่ หมู่ที่ 1 จำนวน 72 คน หมู่ที่ 9 จำนวน 102 คน หมู่ที่ 14 จำนวน 52 คน รวมทั้งสิ้น 226 คน มีผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 2 ราย มีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 37คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยาได้ตระหนักถึงความสำคัญ และเป็นบทบาทหน้าที่ในการป้องกันควบคุมโรค และป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกประจำเดือนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา จึงได้จัดทำโครงการเพื่อพัฒนางานขึ้นเสริมจากงานปกติ (งานเชิงรุก)โดยมีกลยุทธ์ กลวิธีที่มีลักษณะเฉพาะที่เน้นการให้ความรู้และส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เห็นในเชิงประจักษ์ เพื่อสร้างทักษะความรอบรู้ในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน กลุ่มป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ลดงบประมาณรายจ่ายของประเทศ ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศโดยรวมดีขึ้นในอนาคต วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) -ให้ความรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงให้ตระหนักถึงอันตรายและความรุนแรงของโรคโดยใช้บัตรคิวรักษ์สุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -ประเมินผลความรู้ที่อ่านได้จากบัตรคิวโดยเจ้าหน้าที่ -ฝึกออกกำลังกายโดยท่ามณีเวช 5 ท่าและผู้ป่วยสามารถนำไปใช้ออกกำลังกายที่บ้านได้ -ส่งเสริมการใช้สมาธิบำบัดและการกำหนดลมหายใจแบบ SKT -ฝึกประเมินทักษะการกำหนดแคลอรี่ในอาหารแต่ละมื้อ อย่างง่าย

ผลที่คาดว่าจะได้รับ -ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มารับยาในคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านโคกยาได้รับความรู้ 100% -ลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยให้สามารถมีความรู้ในการดูแลตนเองไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ -สร้างความต่อเนื่องและยั่งยืนในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมไม่เกินร้อยละ 7 ได้ ร้อยละ 50
    ตัวชี้วัด : ระดับน้ำตาลสะสมไม่เกินร้อยละ 7 ในผู้ป่วยเบาหวาน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต อยู่ในระดับ 130/80 mmHg ร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด : ระดับน้ำตาลสะสมไม่เกินร้อยละ 7 ในผู้ป่วยเบาหวาน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต อยู่ในระดับ 130/80 mmHg ร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด : ระดับความดันโลหิต อยู่ในระดับ 130/80 mmHg ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกลุ่มป่วย
    ตัวชี้วัด : 90%ของกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า ไต สมอง หัวใจ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1โปรแกรมให้สุขศึกษารายบุคคล ด้วย “บัตรคิวรักษ์สุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 2.กิจกรรมฝึกออกกำลังกายด้วยท่ามณีเวชพื้นฐาน 5 ท่า และสามารถนำไปปฏิบัติต่อที่บ้านได้ทุกคน ทุกวัย 3.การฝึกสมาธิบำบัดโดยใช้หลัก การฝึกกำหนดลมหายใจ แบบ SKT เพื่อช่วยลดความเครียดแ
    รายละเอียด

    1โปรแกรมให้สุขศึกษารายบุคคล ด้วย “บัตรคิวรักษ์สุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 2.กิจกรรมฝึกออกกำลังกายด้วยท่ามณีเวชพื้นฐาน 5 ท่า และสามารถนำไปปฏิบัติต่อที่บ้านได้ทุกคน ทุกวัย 3.การฝึกสมาธิบำบัดโดยใช้หลัก การฝึกกำหนดลมหายใจ แบบ SKT เพื่อช่วยลดความเครียดและผ่อนคลายอารมณ์

    งบประมาณ 12,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 14 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

รพ.สต.บ้านโคกยา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 12,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

-ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มารับยาในคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านโคกยาได้รับความรู้ 100% -ลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยให้สามารถมีความรู้ในการดูแลตนเองไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ -สร้างความต่อเนื่องและยั่งยืนในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน รหัส กปท. L3310

อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน รหัส กปท. L3310

อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 12,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................