กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว รหัส กปท. L8399

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไม่ติดต่อ รพ.สต.น้ำขาว
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
อสม.หมู่ 6บ้านน้ำขาวใน
กลุ่มคน
1. นางอาภรณ์ปิยะรัตน
2. นางละอองหนูสุข
3. นางจำเนียรแก้วคง
4. นางเบญจพรแก้วประดับ
5. นางละเอียดแก้วศรีเพชร
3.
หลักการและเหตุผล

สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้สภาพปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไปด้วย ปัจจุบันแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นจากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลกซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่า ในปี 2552 ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีจำนวน 108 ล้านคน เพิ่มขึ้นเป็น 422 ล้านคน ในปี 2557 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 1.5 ล้านคน นอกจากนี้ ยังพบว่าประชากรทั่วโลกที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 8.5 หรือเมื่อเปรียบเทียบแล้ว พบว่า ปัจจุบันประชากรวัยผู้ใหญ่ 1 ใน 11 คนป่วยเป็นโรคเบาหวาน ส่วนในประเทศไทย จากรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราตายด้วยโรคเบาหวานต่อประชากรแสนคน ในภาพรวมของประเทศในปี 2556 - 2558 เท่ากับ 14.93, 17.53 และ 17.83 ตามลำดับ เห็นได้ว่า อัตราการตายด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปี และจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกายในประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ครั้งที่ 3, 4 และ 5 (ปี 2547, 2552 และ 2557) พบว่า ความชุกของโรคเบาหวาน ของครั้งที่ 3 ร้อยละ 7 ใกล้เคียงกับครั้งที่ 4 ร้อยละ 6.9 ส่วนครั้งที่ 5 เพิ่มสูงขึ้นเป็นร้อยละ 8.8 (คิดเป็น 4.8 ล้านคน)นอกจากนี้ ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปี 2551 ยังพบว่าประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอกในการรักษาพยาบาลโรคเบาหวานเฉลี่ย 1,172 บาทต่อราย ส่วนผู้ป่วยในค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเฉลี่ย 10,217 บาทต่อราย รวมค่ารักษาพยาบาลทั้งสิ้น 3,984 ล้านบาทต่อปี หากคนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวาน รวม 3 ล้านคนต่อปี มารับบริการที่สถานพยาบาล จะต้องเสียค่ารักษาพยาบาลทั้งสิ้นประมาณ 47,596 ล้านบาทต่อปี (http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?)การที่มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วยแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานจึงเป็นทางเลือกที่ดีการป้องกันและควบคุมโรคสามารถกระทำได้ทั้งการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคลครอบครัวและชุมชน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อรณรงค์ตรวจคัดกรองคัดโรคเบาหวานในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป
    ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา 839.00 เป้าหมาย 756.00
  • 2. เพื่อรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป
    ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา 594.00 เป้าหมาย 535.00
  • 3. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน หรือความดันโลหิตสูง และติดตามระดับน้ำตาลในเลือดหรือความดันโลหิตหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 60 2. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) หรือโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดหรือวัดความดันโลหิตหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 93.00 เป้าหมาย 66.00
  • 4. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามและส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 273.00 เป้าหมาย 273.00
  • 5. เพื่อรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
    ตัวชี้วัด : 1. สตรีอายุ 30 - 70 ปี ได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองหรือเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 467.00 เป้าหมาย 373.00
  • 6. เพื่อรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap Smear
    ตัวชี้วัด : 1. สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap Smearร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 363.00 เป้าหมาย 290.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. รณรงค์การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
    รายละเอียด
    1. ฟื้นฟูความรู้ อสม.และแกนนำในการใช้อุปกรณ์และแนวทางการออกให้บริการประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน
    2. ร่วมกับ อสม.และแกนนำ ออกให้บริการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเจาะน้ำตาลในเลือด พร้อมทั้งให้สุขศึกษาเรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส แก่ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน

    - ค่าเครื่องชั้งน้ำหนักผู้ใหญ่ แบบดิจิตอล จำนวน 4 เครื่อง ๆ ละ 1,800 บาทเป็นเงิน 7,200 บาท - ค่าแถบตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 6 กล่องๆละ 1,400 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท - ค่าเข็มเจาะเลือด จำนวน 2 กล่องๆละ 800 บาทเป็นเงิน 1,600 บาท - ค่าสำลีแอลกอฮอล์ แผง 8 ก้อน จำนวน 4 กล่องๆละ 495 บาท เป็นเงิน 1,980 บาท - ค่าถุงมือ เบอร์ Sจำนวน 2 กล่องๆละ 145 บาทเป็นเงิน 290 บาท (หมายเหตุ-ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยกันได้)

    งบประมาณ 19,470.00 บาท
  • 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง
    รายละเอียด

    1.ให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงหรือเบาหวานตามหลัก 3อ 2ส - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 คน x 25 บาทเป็นเงิน 1250 บาท - ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน x 3 ชม. x 600 บาทเป็นเงิน 1800 บาท 2.ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่าระดับน้ำตาลในเลือด >=100 mg/dL) มารับการเจาะหาระดับน้ำตาลในเลือด หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.ติดตามกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง มารับการตรวจวัดความดันโลหิต หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    งบประมาณ 3,050.00 บาท
  • 3. การส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงหรือเบาหวาน
    รายละเอียด
    1. เยี่ยมติดตามประชาชนที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือเบาหวาน
    2. ตรวจสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงที่รับบริการรักษาพยาบาลใน รพ.สต.น้ำขาว
      • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้ป่วยจำนวน 80 คน x 25 บาทเป็นเงิน 2000 บาท
    งบประมาณ 2,000.00 บาท
  • 4. รณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
    รายละเอียด
    1. สาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีในกลุ่มต่างๆ
    2. อสม./แกนนำเคาะประตูบ้านเพื่อให้ความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และจูงใจ สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี เข้ารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
    3. รณรงค์การตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี pap Smear
      • ค่าถุงมือเบอร์ Sจำนวน 3 กล่อง ราคากล่องละ 160 บาท เป็นเงิน 480 บาท
    งบประมาณ 480.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 1 , 3 , 5 , 6 , 9 และ 10ตำบลนำ้ขาว

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 25,000.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ร้อยละ 90 ของประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงหรือเบาหวาน
  2. ร้อยละ 30 ของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงหรือเบาหวานที่ผ่านการปรับเปลี่ยนสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตหรือน้ำตาลในเลือดได้
  3. ร้อยละ 80 ของสตรี อายุ 30 - 70 ปี ได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  4. ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap Smear
  5. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงหรือเบาหวานได่้รับการส่งเสริมสุขภาพ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว รหัส กปท. L8399

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว รหัส กปท. L8399

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 25,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................