กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม รหัส กปท. L3027

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพในเด็ก 0-5 ปี ให้เป็นเด็ก SMART KID
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
กลุ่มคน
นายอิลฮามี โต๊ะลู
นางสาวอามีเน๊าะ บือโต
นางเจ๊ะมัยซัน เต๊ะ
นางสาวสารีผะ มะเกะ
นางสาวปาตีมา กาซอ
3.
หลักการและเหตุผล

ปัญหากลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5ปี) ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา อัตราการตายมารดาและเด็กอายุ 0-5 ปี ของประเทศไทยมีแนวโน้มลดลง โดยอัตราตายมารดาลดลงจาก 374.3 ต่อเกิดมีชีพแสนคน ในปี พ.ศ.2505 เป็น 23.3 ต่อเกิดมีชีพแสนคน ในปีพ.ศ.2557 แต่ยังสูงกว่าเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ (MDGs) ที่กำหนดไว้เท่ากับ 18 ต่อการมีชีพแสนคน

สำหรับภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กในกลุ่มนี้ พบว่า อุบัติการณ์ของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ยังเป็นปัญหาและยังไม่บรรลุเป้าหมายที่กระทรวงกำหนดไว้ไม่เกิน ร้อยละ 7 และจากผลการตรวจคัดกรองและประเมินพัฒนาการของเด็กในกลุ่มนี้ พบว่า มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 99.3 และ 98.7 ซึ่งเกินกว่าค่าที่กระทรวงกำหนดไว้ที่ร้อยละ 85

จากนโยบาย “ปัตตานีสมาร์ทคิตส์” นายแพทย์ชัยรัตน์ ลำโป กล่าวว่า ภาวะโภชนาการของเด็กปัตตานี มีเด็กผอม และ เด็กเตี้ย จำนวนไม่น้อย ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำที่สุดในประเทศไทย และเรื่องของวัคซีน พบว่าการครอบคลุมในการรับวัคซีน ต่ำมากเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการรับวัคซีนช้า ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน และเกิดอาการข้างเคียงจากการได้รับวัคซีน อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก เนื่องจากมีพฤติกรรมการไม่แปรงฟังและดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้อง ด้วยสาเหตุเหล่านี้ทำให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้กำหนดวาระสำคัญที่จะพัฒนาเด็กวัย 0-5 ปี ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต จึงได้จัดทำยุทธศาสตร์ Pattani Smart kids และจัดกิจกรรมเปิดตัว Pattani Smart Kids พร้อมบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โดยได้รับการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1,2,3 และ สำนักการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี เพื่อจัดการศึกษาและประสบการณ์การเรียนรู้ สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ พร้อมส่งเสริมในเรื่องการกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าระวังฟัน และวัคซีน เพื่อสร้างเด็กตานี ดี 10 อย่าง มีคุณภาพชีวิตที่ดี เหมาะสมตามวัย เป็นพลเมืองสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมในอนาคตต่อไป

เด็ก สมาร์ทคิตส์ คือเด็กที่เกิดตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 และต้องมีสุขภาพครบ 4 ด้าน อย่างน้อยร้อยละ 60ได้แก่ ฟันดี วัคซีนครบตามเกณฑ์ พัฒนาการสมวัย และสูงดีสมส่วน เมื่อพิจารณาเด็กที่ผ่านสมาร์ทคิตส์ ณ ไตรมาศที่ 4 ปีงบประมาณ 2561 พบว่า รพ.สต.เขาตูม มีเด็กสมาร์ทคิตส์ ร้อยละ 35.2 โดยพิจารณารายด้านพบว่า ด้านวัคซีนไม่ผ่านร้อยละ 51.6 รองลงมาคือด้านโภชนาการไม่ผ่าน ร้อยละ 15.6 ด้านพัฒนาการไม่ผ่านร้อยละ 7 และด้านทันตกรรมไม่ผ่านร้อยละ 3.1 (ข้อมูลจากโปรแกรมสมาร์ทคิตส์ปัตตานี ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563 )จะเห็นได้ว่ารพ.สต.เขาตูมยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่นโยบายจังหวัดได้กำหนดไว้ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งโครงการฉบับนี้จะสามารถแก้ไขปัญหาในพื้นที่ไม่มากก็น้อย

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้มีเด็กสมาร์ทคิตส์เพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กสมาร์ทคิตส์
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 60.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุม อสม. เพื่อชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการ
    รายละเอียด

    -ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 20 คน เป็นเงิน 1000 บาท -ค่าอาหารว่าง25 บาท x 1 มื้อ x 20 คน เป็นเงิน 500 บาท

    งบประมาณ 1,500.00 บาท
  • 2. ให้ความรู้ผู้ปกครองและคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย
    รายละเอียด

    ให้ความรู้ผู้ปกครองในเรื่อง ได้แก่ การดูแลสุขภาพช่องปาก การสังเกตและกระตุ้นพัฒนาการโดยผู้ปกครอง โภชนาการในเด็กเล็ก ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัคซีนขั้นพื้นฐานโดยจัดโซนการให้บริการจำนวน 16 แห่งแยกตามพื้นที่ดังนี้ -หมู่ที่ 1 จำนวน 8 แห่งได้แก่ กูแบรูซอ, ปาแดแซแงะ, บะตี, บูเกะแยระ, บาซาปาแย -หมู่ที่ 2 จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ จาเราะและ บูเกะดาตู -หมู่ที่ 3 จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ บูเกะตีพะ, ลูโบะบาลา, โสร่ง 1, โสร่ง 2 -หมู่ที่ 7 จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนหมู่ที่ 7 และ หน้าค่าย ชคต. ค่าใช้จ่าย 1.-ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 100 คน เป็นเงิน 5000 บาท -ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 1 มื้อ x 100 คน เป็นเงิน 2500 บาท 2.สื่อประชาสัมพันธ์ ชนิดโรลอัพ ขนาด 200x80 ซม. จำนวน 5 ชุด x 3,000 บาทเป็นเงิน 15,000 บาท (ได้แก่ เรื่องฟันผุ ในเด็ก, การแปรงฟันในเด็ก, พัฒนาการตามวัย, ธงโภชนาการ, และวัคซีนตามวัย)

    งบประมาณ 22,500.00 บาท
  • 3. ฝึกทักษะการแปรงฟันในเด็กให้ผู้ปกครอง
    รายละเอียด

    -ชุดทำความสะอาดฟันเด็ก(แปรงสีฟัน+ยาสีฟัน) จำนวน 100 ชุด x 100 บาท เป็นเงิน10,000 บาท

    งบประมาณ 10,000.00 บาท
  • 4. ส่งเสริมการรับประทานอาหารในเด็กที่มีภาวะโภชนาการบกพร่องที่ถูกต้อง
    รายละเอียด

    ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่ถูกต้องดังนี้ โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 20 คน ติดตามทุก 1 เดือน นาน 3 เดือน 1.รพ.สต.จ่ายยาเสริมธาตุเหล็กให้กลุ่มเป้าหมายโดยกินยาทุกวันนาน 1 เดือน 2.รพ.สต.จ่ายยา MTV จนกว่าน้ำหนักจะเพิ่มขึ้น 3.สนับสนุนการกินโปรตีนเสริมจากอาหารเดิมโดย กินไข่ต้มวันละ 1 ฟอง และถั่วเขียวต้ม วันละ 1 ถ้วยเป็นอย่างน้อย -ไข่3 แผง(30 ฟอง) x 100 บาท x 20 คน เป็นเงิน 6,000 บาท -ถั่วเขียว 3 ถุง(500 กรัม) x 40 บาท x 20 คน เป็นเงิน2,400 บาท 4.ติดตามชั่งน้ำหนักเด็กโดยอสม. ทุก 1 เดือน

    งบประมาณ 8,400.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 42,400.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

-เด็ก 0-5 ปี ที่เข้าร่วมโครงการเป็นเด็กสมาร์ทคิตส์เพิ่มขึ้น -ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจระดับดีขึ้นไปร้อยละ 80

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม รหัส กปท. L3027

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม รหัส กปท. L3027

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 42,400.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................