กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาจะแหน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาจะแหน

1. นางสาวซาฮานา รานีสะ 064-9107979
2. นางอาอีดะห์ เตะหมัดหมะ 083-3993397

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาจะแหน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

1 ร้อยละของเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
องค์การบริหารส่วนตำบลจะแหนมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาจะแหน จากการคัดกรองสุขภาพนักเรียนซึ่งอ้างอิงจากโปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของศพด.และรพ.สต.โดยวัดส่วนสูง ชั่งน้ำหนัก ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2562 นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาจะแหน 81 คน พบว่ามีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 21 คนจำนวนนักเรียนน้ำหนักค่อนข้างน้อย 18 คนจำนวนนักเรียนน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 14 คน จำนวนนักเรียนค่อนข้างเตี้ย 18 คน จำนวนเด็กเตี้ย 8 คน จำนวนนักเรียนผอม 2 คน จำนวนเด็กท้วม - คน*นักเรียนบางคนมีภาวะเสี่ยงทั้งน้ำหนักและส่วนสูง 26
2 ร้อยละของเด็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า
จากการสำรวจข้อมูลเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของศพด.และรพ.สต.จากนักเรียนทั้งหมด 81 คนการรับประทานอาหารเช้า จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 46 ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า 10 คน คิดเป็นร้อยละ 21 ที่รับประทานอาหารเช้าที่ไม่มีคุณภาพตามหลักโภชนาการ 59.00
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จ ขนาด เป้าหมาย 1 ปี 1 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ ของนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการลดลง 26.00 10.00 2 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับประทานอาหารเช้าทุกคน 59.00 00.00

ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับประทานอาหารเช้าทุกคน 59.00     00.00

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 81
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 56
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/02/2020

กำหนดเสร็จ 05/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 สำรวจเพื่อจัดทำข้อมูลสถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 สำรวจเพื่อจัดทำข้อมูลสถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สำรวจเพื่อจัดทำข้อมูลสถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการ     ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเด็ก ทุกเดือน และ สำรวจข้อมูลตามแบบฟอร์มการคัดกรองภาวะการกินอาหารเช้าเด็ก วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดประชุมคณะกรรมการศพด./ครูผู้ดูแลเด็ก/กองการศึกษาและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ค่าใช้จ่าย 1. ค่าอาหารว่างสำหรับการจัดเตรียมข้อมูลร่วมกับ จนท.และคณะกรรมการศูนย์ จำนวน 10 คนx 25 บาท เป็นเงิน 250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เกิดข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการเด็กใน ศพด.
    จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม 250 บาท
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
250.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมผู้ปกครองพร้อมคืนข้อมูลอบรมให้ความรู้ ครู แม่บ้าน และผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เกี่ยวกับอาหารและโภชการสำหรับเด็กปฐมวัย อบรมให้ความรู้โดยวิทยากรจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสะบ้าย้อย ค่าใช้จ่าย 1. ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน 3 ชั่งโมงๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 2. ค่าอาหารว่างจำนวน 1 มื้อๆ ชุดละ 25 บาทจำนวน 90 เป็นเงิน 2,250 บาท 3. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 เมตร x 2 เมตร เป็นเงิน 380 บาท 4. ค่าเอกสารประกอบการบรรยาย 90 ชุดๆละ 10 บาท เป็นเงิน 900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ปกครองตระหนักเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพเด็ก
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสามารถนำไปปรับใช้ให้กับนักเรียนได้ จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม 5,030 บาท
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5030.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 อาหารเช้าเพื่อหนู อิ่มท้องสมองใส

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 อาหารเช้าเพื่อหนู อิ่มท้องสมองใส
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดทำอาหารเช้า เช่น ข้าวต้ม ข้าวยำ ก๋วยเตี๋ยวผัด ฯลฯ ให้กับนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลจะแหน จำนวน 56 คน ในวันจันทร์ ถึง วันศุกร์ จำนวน 50 มื้อมื้อละ 7 บาท/คน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการแก้ไขด้านภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 และมีการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลจะแหนนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าตามหลักโภชนาการทุคน จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม 19,600บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19600.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 นิทานอาหารดีมีประโยนช์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 นิทานอาหารดีมีประโยนช์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกระบวนการเล่านิทานรูปแบบการยกตัวอย่างภาพเด็กทีมีทุพโภชนาการพร้อมทั้งอธิบายให้ผู้เรียนทุกวันจันทร์ ก่อนนอนช่วงบ่ายโดยเปรียบเทียบประโยชน์และโทษของอาหาร       1. ค่าหนังสือนิทาน 400 บาท
      2. ค่าวัสดุ(สื่อการเรียนรู้) 300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-นักเรียนเกิดการตื่นตัวในการเรียนรู้เรื่องอาหารและเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ผ่านกระบวนการเล่านิทาน จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม 700 บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,580.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.จำนวนนักเรียนที่มีทุพโภชนาการร้อยละ 26 จากทั้งหมด 56 คน มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์
2. นักเรียนได้รับอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการ


>