กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาจะแหน
รหัสโครงการ 04/2563
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาจะแหน
วันที่อนุมัติ 4 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 กุมภาพันธ์ 2563 - 5 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 25,580.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาจะแหน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 81 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 56 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

1 ร้อยละของเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ องค์การบริหารส่วนตำบลจะแหนมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาจะแหน จากการคัดกรองสุขภาพนักเรียนซึ่งอ้างอิงจากโปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของศพด.และรพ.สต.โดยวัดส่วนสูง ชั่งน้ำหนัก ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2562 นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาจะแหน 81 คน พบว่ามีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 21 คนจำนวนนักเรียนน้ำหนักค่อนข้างน้อย 18 คนจำนวนนักเรียนน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 14 คน จำนวนนักเรียนค่อนข้างเตี้ย 18 คน จำนวนเด็กเตี้ย 8 คน จำนวนนักเรียนผอม 2 คน จำนวนเด็กท้วม - คน*นักเรียนบางคนมีภาวะเสี่ยงทั้งน้ำหนักและส่วนสูง 26
2 ร้อยละของเด็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า จากการสำรวจข้อมูลเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของศพด.และรพ.สต.จากนักเรียนทั้งหมด 81 คนการรับประทานอาหารเช้า จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 46 ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า 10 คน คิดเป็นร้อยละ 21 ที่รับประทานอาหารเช้าที่ไม่มีคุณภาพตามหลักโภชนาการ 59.00 ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จ ขนาด เป้าหมาย 1 ปี 1 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ ของนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการลดลง 26.00 10.00 2 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับประทานอาหารเช้าทุกคน 59.00 00.00

ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับประทานอาหารเช้าทุกคน 59.00     00.00

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 25,580.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรมที่ 1 สำรวจเพื่อจัดทำข้อมูลสถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการ 0 250.00 -
??/??/???? กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย 0 5,030.00 -
??/??/???? กิจกรรมที่ 3 อาหารเช้าเพื่อหนู อิ่มท้องสมองใส 0 19,600.00 -
??/??/???? กิจกรรมที่ 4 นิทานอาหารดีมีประโยนช์ 0 700.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนนักเรียนที่มีทุพโภชนาการร้อยละ 26 จากทั้งหมด 56 คน มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ 2. นักเรียนได้รับอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2563 00:00 น.