กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหนูน้อยปลอดเหา ปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสายหมอ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสายหมอ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จงหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การดูแลความสะอาดของร่างกายในเด็กวัยปฐมวัยเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดบริเวณศีรษะ ทั้งนี้โรคที่เกิดขึ้นกับหนังศีรษะที่พบบ่อยมากในกลุ่มเด็กปฐมวัยจนถึงนักเรียนปฐมศึกษา โดยพบว่ามีนักเรียนประมาณ 80-90% โดยเฉพาะนักเรียนหญิงที่ติดเหา ซึ่งโรคเหานับเป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไปนอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น เนื่องจากมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหนะนำไปติดผู้อื่นต่อไป ซึ่งวิธีในการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำ
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสายหมอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพหนังศีรษะของเด็กที่เป็นโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาร่วมกันกับผู้ปกครองในการกำจัดเหาในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสายหมอ โดยมุ่งหวังให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและศรีษะที่จะช่วยป้องกันโรคเหาและลดการแพร่ระบาดของโรคเหาต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดเหาและการดูแลสุขภาพผมในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

0.00
2 เพื่อให้เด็กมีสมาธิในการเรียนรู้มากขึ้น

 

0.00
3 เพื่อให้เด็กมีบุคลิกภาพที่ดีขึ้น

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 105
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้เกี่ยวกับเหา โทษของการเป็นเหา วิธีการกำจัดเหา และการดูแลสุขภาพผม

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้เกี่ยวกับเหา โทษของการเป็นเหา วิธีการกำจัดเหา และการดูแลสุขภาพผม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหาร -ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน 51 คนๆละ 70 บาท     เป็นเงิน  3,570   บาท -ค่าอาหารว่าง   จำนวน  105  คนๆละ 25  บาท     เป็นเงิน  2,625   บาท 2.ค่าวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมงๆละ  600  บาท      เป็นเงิน  2,400   บาท 3.ค่าป้ายโครงการ                                          เป็นเงิน     600   บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9195.00

กิจกรรมที่ 2 สาธิตการกำจัดเหา และการดูแลสุขภาพผม

ชื่อกิจกรรม
สาธิตการกำจัดเหา และการดูแลสุขภาพผม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรม จำนวน 51 ชุดๆละ 50 บาท  เป็นเงิน  2,550  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2550.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,745.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการกำจัดเหาและการดูแลสุขภาพผมของเด็กก่อนวัยเรียน
2.เด็กมีสมาธิในการเรียนรู้มากขึ้น
3.เด็กมีบุคลิกภาพที่ดีขึ้น


>