กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยปลอดเหา ปี 2563
รหัสโครงการ 63-L3067-03-015
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสายหมอ
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 11,745.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางยาเราะ มามะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายวันมูหะหมัด วันสุไลมาน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (11,745.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 105 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การดูแลความสะอาดของร่างกายในเด็กวัยปฐมวัยเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดบริเวณศีรษะ ทั้งนี้โรคที่เกิดขึ้นกับหนังศีรษะที่พบบ่อยมากในกลุ่มเด็กปฐมวัยจนถึงนักเรียนปฐมศึกษา โดยพบว่ามีนักเรียนประมาณ 80-90% โดยเฉพาะนักเรียนหญิงที่ติดเหา ซึ่งโรคเหานับเป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไปนอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น เนื่องจากมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหนะนำไปติดผู้อื่นต่อไป ซึ่งวิธีในการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำ ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสายหมอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพหนังศีรษะของเด็กที่เป็นโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาร่วมกันกับผู้ปกครองในการกำจัดเหาในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสายหมอ โดยมุ่งหวังให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและศรีษะที่จะช่วยป้องกันโรคเหาและลดการแพร่ระบาดของโรคเหาต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดเหาและการดูแลสุขภาพผมในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

0.00
2 เพื่อให้เด็กมีสมาธิในการเรียนรู้มากขึ้น

 

0.00
3 เพื่อให้เด็กมีบุคลิกภาพที่ดีขึ้น

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 11,745.00 2 11,740.00
27 ส.ค. 63 ให้ความรู้เกี่ยวกับเหา โทษของการเป็นเหา วิธีการกำจัดเหา และการดูแลสุขภาพผม 0 9,195.00 9,190.00
27 ส.ค. 63 สาธิตการกำจัดเหา และการดูแลสุขภาพผม 0 2,550.00 2,550.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการกำจัดเหาและการดูแลสุขภาพผมของเด็กก่อนวัยเรียน 2.เด็กมีสมาธิในการเรียนรู้มากขึ้น 3.เด็กมีบุคลิกภาพที่ดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ก.พ. 2563 15:13 น.