กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร รหัส กปท. L2477

อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ 2 in 1 model วัคซีนใจสู่การบำบัดยาเสพติด
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลจะแนะ
3.
หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยใน ช่วง 3 ปีมีผู้ติดยาที่มีอาการทางจิตเข้ารักษาปีละเกือบ 4 พันรายต่อปี นพ.เจษฎา โชคดำรงสุขอธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า การติดสารเสพติดเป็นกระบวนการต่อเนื่องที่เกิดขึ้นทีละน้อย จากการใช้ยาเป็นครั้งคราวสู่การใช้ถี่ขึ้น จนใช้ทุกวัน วันละหลายครั้ง ซึ่งเมื่อใช้บ่อยๆ อย่างต่อเนื่อง จะนำไปสู่ภาวะ "สมองติดยา" โดยสารในตัวยาจะเข้าไปทำลายสมองส่วนคิด ทำให้การใช้ความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลเสียไป สมองส่วนอยากจึงเข้ามามีอิทธิพลเหนือสมองส่วนคิด โดยเฉพาะช่วงอยากสารเสพติด ทำให้ผู้เสพติดทำอะไรตามใจตามอารมณ์มากกว่าเหตุผล การเปลี่ยนแปลงสารเคมีในสมอง ทำให้เกิดอาการจิตประสาทหลอนได้ง่าย โดยผู้เสพบางรายจะมีอาการ หลงผิด หวาดระแวง หูแว่ว เห็นภาพหลอน ซึ่งจะเป็นอยู่ครั้งคราวเมื่อมีการใช้สารเสพติดนั้น และหากมีการใช้เป็นระยะเวลานานจะทำให้เกิดอาการทางจิตอย่างถาวรได้ ซึ่งอาการจะคล้ายกับผู้ป่วย "โรคจิตเภท" คือนอกจาก หวาดระแวง มีหูแว่ว หลงผิด แล้วยังไม่สามารถรับรู้โลกความเป็นจริง มีความบกพร่อง ขาดการดูแลตนเองการดำรงชีวิตประจำวันอีกด้วย ปัจจุบันมีรูปแบบการบำบัดยาเสพติดที่หลากหลาย ทั้งการบำบัดรักษาด้านร่างกาย บำบัดแบบค่าย และการรักษาด้านจิตใจ หนึ่งในทางเลือกของการบำบัดฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดคือวิธีการศาสนบำบัด จากการศึกษาพบว่าอิสลามบำบัดมีแนวคิดและหลักการสำคัญ 4 ประการดังนี้ 1) อิสลามบำบัดไม่ใช่มุ่งเน้นการบำบัดสารเสพติดแต่มุ่งเน้นการพัฒนาความศรัทธาในศาสนาให้เพิ่มขึ้น เพราะความศรัทธาจะทำหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกันไม่ให้ใช้สารเสพติด 2) การประกอบศาสนกิจจะทำให้ผู้ติดสารเสพติดลืมสารเสพติดได้ 3) การหายจากสารเสพติดไม่ได้มาจากความสามารถของมนุษย์แต่มาจากพระเจ้า และ 4) หลักการในศาสนาอิสลามเป็นหลักการที่สมบูรณ์สามารถแก้ไขปัญหาได้ (ณัฐนิชากันซัง,2560) ข้อมูลจากการสำรวจผู้รับบริการในคลินิกจิตเวช ในปี 2562 พบว่าอำเภอจะแนะมีผู้ป่วยจิตเภทที่เข้าสู่กระบวนการรักษา ทั้งหมด จำนวน 162 ราย โดยมีผู้ป่วยจิตเภทจากการใช้ยาและสารเสพติด จำนวน 119 ราย คิดเป็นร้อยละ 73.91 มีผู้ป่วยจิตเภทจากพฤติกรรม จำนวน 41 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.46 และมีผู้ป่วยจิตเภทจากพันธุกรรม จำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.23 ผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดยาเสพติดจำนวนทั้งหมด 78 ราย โดยหลังการบำบัดมีผู้ที่ไม่กลับไปเสพซ้ำ 62 ราย คิดเป็นร้อยละ 79.49 และกลับไปเสพซ้ำ 16 ราย ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51 มีผู้ป่วยที่มีการกำเริบซ้ำของโรคทั้งหมด จำนวน 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.24 แบ่งได้ดังนี้ ในผู้ป่วยจิตเภทจากการใช้ยาและสารเสพติดมีการ จำนวน 16 รายคิดเป็นร้อยละ 13.44 ในผู้ป่วยจิตเภทจากพฤติกรรม จำนวน 4 รายคิดเป็นร้อยละ 9.75และไม่มีผู้ป่วยจิตเภทจากพันธุกรรมที่มีอาการกำเริบซ้ำ โดยผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาในคลินิกจิตเวช และฟื้นฟูบำบัดตามแนวทางจิตสังคมบำบัด ดังนั้นหน่วยงานจิตเวชและยาเสพติด โรงพยาบาลจะแนะ จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการผสมผสานการบำบัดรักษาตามแนวทางจิตสังคมบำบัดในรูปแบบของอิสลามบำบัดโดยเน้นการฟื้นฟูสมรรถภาพของบุคคลให้สามารถดูแลตัวเองได้เต็มศักยภาพ และการฟื้นฟูอีมาน (หลักศรัธทา) เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งทางใจ จนสามารถอยู่ร่วมกับครอบครัวและชุมชนได้อย่างอิสระ

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน ลดลงเหลือ(คน)
    ขนาดปัญหา 16.00 เป้าหมาย 15.00
  • 2. เพื่อให้ผู้ป่วยที่ใช้ยาเสพติดหยุดเสพซ้ำ ต่อเนื่อง 3 เดือนหลังเข้าร่วมกิจกรรม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ยาเสพติดที่หยุดเสพซ้ำ ต่อเนื่อง 3 เดือนหลังเข้าร่วมกิจกรรม
    ขนาดปัญหา 79.49 เป้าหมาย 90.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมเสริมสร้างศักยภาพครอบครัวและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชจากการใช้ยาและสารเสพติด
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม 1.ประสานครอบครัวและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชจากการใช้ยาและสารเสพติดเข้าร่วมโครงการจำนวน 32 คน
    2.อบรมให้ความรู้ เสริมศักยภาพครอบครัวและผู้ดูแล เตรียมความพร้อมสำหรับการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน จำนวน 1 วัน

    งบประมาณ 1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 32 คนๆละ 50 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 1600 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 32 คนๆละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1600 บาท 3.ค่าวิทยากร 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 4.ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ 1.0 x 3.0 เป็นเงิน 690 บาท

    งบประมาณ 6,890.00 บาท
  • 2. อบรมเชิงปฏิบัติการ “ตะเล็ม” (แลกเปลี่ยนเรียนรู้) สุขภาพจิตศึกษาในมิติทางศาสนา
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม 1.ผู้ป่วยจิตเวชจากการใช้ยาและสารเสพติด จำนวน 16คน
    2.จัดการเรียนการสอน (ฮาลาเกาะฮฺ,อ่านกีตาบ,บรรยายคุณลักษณะศอฮาบะฮ,มูซากาเราะห์) สุขภาพจิตศึกษาในมิติทางศาสนาอิสลาม จำนวน 1วัน

    งบประมาณ 1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 16 คนๆละ 50 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 800 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 16 คนๆละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 800 บาท 3.ค่าวิทยากรกลุ่ม 4 คน x 1.5 ชั่วโมงๆละ 200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท 4.ค่าวิทยากร 1 คน x 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

    งบประมาณ 5,200.00 บาท
  • 3. มูฮาซาบะฮฺ (เปิดใจ) บำบัดอารมณ์ ฟื้นฟูทักษะการรู้คิด ปรับพฤติกรรม
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม 1.ผู้ป่วยจิตเวชจากการใช้ยาและสารเสพติด จำนวน 16คน
    2.จัดบุคคล และสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้ทบทวนตัวเองเป็นการบำบัดที่เน้นเรื่องของอารมณ์ ความรู้สึก เพื่อฟื้นฟูทักษะด้านการรู้คิด การเข้าใจตนเอง ยอมรับตัวตน จะช่วยให้ผู้เข้าร่วมโปรแกรมสามารถปรับพฤติกรรมและอารมณ์ให้ดีขึ้น จำนวน 2 วัน

    งบประมาณ 1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 16 คนๆละ 50 บาท 1 มื้อเป็นเงิน 800 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 16 คนๆละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 800บาท 3.ค่าวิทยากร 1 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
    4.ค่าวิทยากรกลุ่ม 4 คน x 5 ชั่วโมงๆละ 200 บาท x 1 วัน เป็นเงิน 4,000 บาท

    งบประมาณ 6,200.00 บาท
  • 4. เสริมสร้างการใช้สัมพันธภาพและสิ่งแวดล้อม ; เฏาะฮาเราะฮฺ จิตอาสา ทำคุณประโยชน์
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม 1. ผู้ป่วยจิตเวชจากการใช้ยาและสารเสพติด จำนวน 16คน
    2. กิจกรรมจิตอาสา ทำคุณประโยชน์ โดยการล้างห้องน้ำ ทำความสะอาด ศาสนสถาน เพื่อเติมเต็มหัวใจด้วยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ จำนวน 1 วัน

    งบประมาณ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 16 คนๆละ 25 บาท 1 มื้อเป็นเงิน 400 บาท

    งบประมาณ 400.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

การทำกลุ่มจิตบำบัด

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

- อบต.ผดุงมาตร ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส - มัสยิดในอำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 18,690.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชจากการใช้ยาและสารเสพติด
  • ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชจากการใช้ยาและสารเสพติด
  • สามารถนำโมเดลไปปรับใช้ในผู้ใช้ยาและสารเสพติดรายอื่นๆในพื้นที่ที่มีบริบทใกล้เคียงกัน
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร รหัส กปท. L2477

อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร รหัส กปท. L2477

อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 18,690.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................