กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะตอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมและป้องกันโรคมาลาเรียและโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะตอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โคกสะตอ

นางสาวนาสือเร๊าะอาลี

หมู่ที่ ๑บ้านบาโงปะแต จำนวน ๑๕๙หลังคาเรือน หมู่ที่ ๒บ้านไอร์กลูแปจำนวน ๒๔๘หลังคาเรือน หมู่ที่ ๓บ้านสวนพลู จำนวน๑๗9หลังคาเรือน หมู่ที่ ๔บ้านไอร์สาเมาะจำนวน๑๕4หลังคาเรือน หมู่ที่ ๕บ้านไอร์จือนะจำนวน๑๖0หลังคาเรือน หมู่ที่ ๖บ้านธรรมเจริญ จำนวน๑15หลังคาเรือน ห

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ๒. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ

๑. ผู้เข้าร่วมประชุม มีความรู้ในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ร้อยละ ๘๐                  ๒. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะลดลงร้อยละ ๒๐ จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/12/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมและให้ความรู้ สำรวจตรวจสอบ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง

ชื่อกิจกรรม
อบรมและให้ความรู้ สำรวจตรวจสอบ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นวางแผน(Plan)        1.  ตรวจสอบ ข้อมูลการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและไข้ชิคุนกุน ๕ ปีย้อนหลัง        2.  จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินงานตามขั้นตอน
    ขั้นดำเนินการ(Do)       1. เจ้าหน้าที่ให้ความรู้แก่ อสม และประชาชนผู้เข้าร่วมอบรมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน       2. กลุ่ม อสม. ติดตามและประเมิน BI และCI พร้อมกับให้สุขศึกษาทุกหลังคาเรือนในเขตรับผิดชอบ       3. ผู้นำศาสนาประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ที่มัสยิด ในทุกวันศุกร์ - ทำสื่อประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะให้กับผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนา - รณรงค์ กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง  และออกพ่นหมอกควันกำจัดยุ่งตัวแก่ในหมู่บ้าน
สถานศึกษา ศาสนสถาน และสถานราชการในชุมชน - ใส่สารเคมีทรายอะเบทในตุ่มน้ำใช้ในครัวเรือน และโรงเรียน - คัดกรองหาเชื้อไข้มาลาเรียในพื้นที่เสี่ยง

ขั้นตรวจสอบและประเมินผล(Check)

         1. สรุปและประเมินผลโครงการตามตัวชี้วัด เมื่อสิ้นปีงบประมาณ 2563 -ประเมินผลจากการติดตามอัตราการป่วยด้วย โรคไข้มาลาเรีย โรคไข้เลือดออก ไข้ชิคุนกุนย่า
        -ประเมินผลจากการติดตามค่า BI และ CI ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ          2. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของการดำเนินงานควบคุมป้องกัน โรคไข้มาลาเรีย โรคไข้เลือดออก ไข้โรคชิคุนกุนย่า


      ขั้นปรับปรุงและพัฒนา(Action) 1. กำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดย อสม.และประชาชนทุกวันศุกร์ 2. อสม.สามารถแจ้งข่าวแก่เจ้าหน้าที่ทันทีเมื่อพบผู้ป่วยที่สงสัยเป็นโรคไข้มาลาเรีย ไข้เลือดออก ไข้ชิคุนกุนย่า
3. เมื่อพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย โรคไข้เลือดออกและไข้ชิคุนกุนย่า  สามารถพ่นหมอกควันทันที


งบประมาณ 1. ค่าจัดจ้างทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 เมตร x 3  เมตร จำนวน 1 ผืนๆละ 1,200 บาท
                  เป็นเงิน  1,200 บาท
    2. ค่าจ้างเหมาจ่ายปูพรมพ่นหมอกควัน 8 หมู่บ้าน จำนวน 1 ครั้ง
                  เป็นเงิน 16,000 บาท
    3. ค่าวัสดุ น้ำมันเชื้อเพลิงในการพ่นหมอกควัน  3,000 X 8 หมู่
                   เป็นเงิน 24,000 บาท          4. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม         หมู่ละ 20 คน รวมจำนวน 160 คนๆละ 1 มื้อๆละ 50 บาท          เป็นเงิน 8,000  บาท          5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม         หมู่ละ 20 คน รวมจำนวน 160 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท           เป็นเงิน 8,000    บาท
                6. ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าประชุมคัดกรองเรื่องโรคไข้มาลาเรีย 10 รุ่นละๆ 50
                   คนๆละ 1 มื้อๆละ 50 บาท                              เป็นเงิน 25,000 บาท                 7. ค่าตอบแทนวิทยากร                                                              เป็นเงิน 3,000 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  85,200  บาท (แปดหมื่นห้าพันสองร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มกราคม 2563 ถึง 30 ธันวาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก ไข้ชิคุนกุนย่า 2.เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออก ไข้ชิคุนกุนย่า

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
85200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 85,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>