แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.นายสมาน กอลำเบอร์โทร 0819634962
2.นางปาซียะห์สาเมาะ เบอร์โทร 0954392339
3.นางอาภรณ์ เจะอุบง เบอร์โทร 085-7994526
4 นางมณัสญา มะจะ เบอร์โทร 098-7066649
5 นางอาซีซะห์คำแปง… เบอร์โทร …081-8976539
จากทุกภาคส่วนประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ที่ลดเสี่ยงลดโรคลดภาวะแทรกซ้อน ลดการพิการ ลดความตาย และลดภาระค่าใช้จ่ายทั้งระดับบุคคล ครอบครัวชุมชนสังคมสังคมสุขภาวะบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน(DM)และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD)โรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวมแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยพ.ศ2554-2563 ซึ่งเป็นแผนระดับชาติเพื่อใช้เป็นกรอบชี้ทิศทางการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติการอย่างบูรณาการเป็นเอกภาพด้วยการรวมพลังขับเคลื่อนตำบลบานา ได้ดำเนินตามนโยบายสาธารณสุขผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเขตตำบลบานา มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทั้งหมดปี2562 จำนวน2,498 ราย โรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด 1,588 รายสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีจำนวน 425 รายคิดเป็นร้อยละ26.76โรคเบาหวาน900 รายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี จำนวน 135 ราย คิดเป็นร้อยละ15 ป่วยทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1903 ราย และผู้ป่วยที่มีระดับความเสื่อมของไต ค่า GFR อยู่ในระดับ 3 จำนวน 57 ราย คิดเป็นร้อยละ51.35 ระดับ 4 จำนวน 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.02 และระดับ5 จำนวน 14 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.61 เข้ารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา จำนวน863ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ มักจะมีอาการหลงลืมในการรับประทานยาบ้างการคุมอาหารบ้าง ขาดการเอาใจใส่จากญาติ ขาดความรู้ความเข้าใจในการรักษาที่ถูกต้อง ไปพึ่งยาเสริมต่างๆที่สามารถหาซื้อได้ง่ายด้วยตนเองโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากบุคคลากรทางการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้มีการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่รับผิดชอบของเป็นแบบองค์รวม และเกิดการบูรณาการให้ผู้ป่วยและญาติดูแลตนเองได้ สามารถควบคุมภาวะอาการของโรคได้ และลดการตายจากภาวะแทรกซ้อน
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สามารถดูแลตนเองได้ ลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ กระตุ้นให้คนในบ้านหรือผู้ดูแล มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมดูแลรักษา ให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแล รับรู้ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น และมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสุขภาพคนในบ้าน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน และเป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
-
1. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรคตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน และโรค ไตและภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 2.ร้อยละ60 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด ได้ และ ป้องกันไม่ให้มีค่าความเสื่อมของไตเพิ่มขึ้น 3.ร้อยละ95 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดมีความรู้ความเข้าใจด้านยาที่ถูกต้องขนาดปัญหา เป้าหมาย 239.00
-
2. เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ผู้ดูแลและอสมที่เข้ารับการอบรม สามารถประเมินภาวะเสี่ยง และติดตามผู้ป่วยได้ขนาดปัญหา เป้าหมาย 90.00
-
3. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเรื้อรังสามารถดูแลติดตามผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่องและประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของอสมที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน และโรค ไตและภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 2.ร้อยละ 90 ของอสม ที่เข้ารับการอบรมสามารถประเมินภาวะเสี่ยงและติดตามผู้ป่วยได้ขนาดปัญหา เป้าหมาย 180.00
-
4. เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความรู้ความเข้าใจ ด้านยา ( ยาแผนปัจจุบัน / สมุนไพร ) เพื่อนำไปปรับให้ถูกต้องและเหมาะสมตัวชี้วัด : ร้อยละ95 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดมีความรู้ความเข้าใจด้านยาที่ถูกต้องขนาดปัญหา เป้าหมาย 95.00
- 1. กิจกรรมที่1รู้เร็วรู้ไว น้ำตาลคุมได้ ใส่ใจสุขภาพรายละเอียด
1.อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม (รุ่นที่1 จำนวน60 คน ผู้จัดอบรม 4 คน รวม 64 คน ) 25 บาท X 2 มื้อ ( เช้า-บ่าย)X 64 คน เป็นเงิน3,200.-บาท
2.อาหารกลางวัน( พร้อมผู้จัดอบรม) 50 บาท X 64 คนเป็นเงิน3,200.-บาท
3.ค่าเอกสารประกอบการอบรม50 บาทX 30 ชุด เป็นเงิน1,500.-บาท
4.ค่าสมุดประจำตัว100 บาทX30 ชุด เป็นเงิน3,000.-บาท
5.ชุดตรวจเท้าประกอบการอบรม100 บาท X30 ชุดเป็นเงิน 3,000.-บาท
6.ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด1เมตรX3เมตรจำนวน1 ป้าย เป็นเงิน750.-บาท
7.ค่าสื่อไวนิลความรู้โรคเรื้อรัง เบาหวาน ขนาด1X4เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน1,000.-บาท
8.ค่าป้ายไวนิลรณรงค์ หัวข้อ “คนบานา ลด หวาน มันเค็ม ขนาด1X3เมตรจำนวน11 ป้าย(หมู่ละ 1ป้าย )เป็นเงิน8,250.-บาท
9.ค่าไวนิลแถบสีประเมินตนเองเบาหวาน , ขนาด1X4 เมตรจำนวน 1ป้าย เป็นเงิน1,000.-บาท
10.ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ ในการจัดอบรม เป็นเงิน 1,000.-บาท
งบประมาณ 25,900.00 บาท - 2. กิจกรรมที่ 2พิชิตความดันโลหิตด้วยตัวเรารายละเอียด
1.อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม (รุ่นที่1 จำนวน60 คน) 25 บาท X 2 มื้อ ( เช้า-บ่าย)X 64 คน เป็นเงิน3,200.-บาท
2.อาหารกลางวัน( พร้อมผู้จัดอบรม) 50 บาทX 64คนเป็นเงิน3,200.-บาท
3.ค่าเอกสารประกอบการอบรม50 บาทX 30 ชุด เป็นเงิน1,500.-บาท
4.ค่าสมุดประจำตัว100 บาทX30 ชุด เป็นเงิน3,000.-บาท
5.ค่าสื่อไวนิลความรู้โรคเรื้อรังโรคความดันโลหิตสูงขนาด1X4เมตร จำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน 1,000.-บาท
6.ค่าไวนิลแถบสีประเมินตนเอง กับความดันโลหิตสูง ขนาด1X4เมตรจำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 1,000.-บาท
7.ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ ในการจัดอบรม เป็นเงิน 1,000.-บาท
งบประมาณ 13,900.00 บาท - 3. กิจกรรมที่ 3 รู้รักษ์ไตรายละเอียด
1.อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม (กลุ่มผู้ป่วยค่าGFR ระดับ3 จำนวน20 คน+ผู้ดูแล20 คนรวม60 คน)25 บาท X 2 มื้อ ( เช้า-บ่าย)X 44 คนเป็นเงิน2,200.-บาท
2.อาหารกลางวัน( พร้อมผู้จัดอบรม ) 50บาท X 44คนเป็นเงิน2,200.-บาท
3.ค่าเอกสารประกอบการอบรม50 บาทX 20 ชุด เป็นเงิน1,000.-บาท
4ค่าสมุดประจำตัว100 บาทX20 ชุด เป็นเงิน2,000.-บาท
5ค่าสื่อไวนิลความรู้โรคเรื้อรังโรครู้ทันโรคไตขนาด1X4เมตร จำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน1,000.-บาท
6 ค่าไวนิลแถบสีประเมินตนเอง รู้ทันโรคไต ขนาด1X4เมตรจำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน1,000.-บาท
7.ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ ในการจัดอบรมเป็นเงิน1,000.-บาท
งบประมาณ 10,400.00 บาท - 4. กิจกรรมที่ 4 อสมอาสา พาประชาชนห่างไกลโรคแทรกซ้อนรายละเอียด
1.อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ( อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ละ3 คนจำนวน33 คน)25 บาท X 2 มื้อ ( เช้า-บ่าย)X 37 คน เป็นเงิน1,850.-บาท
2.อาหารกลางวัน( พร้อมผู้จัดอบรม)50 บาท X 37คนเป็นเงิน1,850.-บาท
3.ค่าเอกสารประกอบการอบรม(แบบติดตามผู้ป่วยที่บ้าน ) 50 บาทX 37 ชุด เป็นเงิน 1,850.-บาท
งบประมาณ 5,550.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 7 เมษายน 2563 ถึง 10 เมษายน 2563
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา
รวมงบประมาณโครงการ 55,750.00 บาท
1ผู้ป่วย/ผู้ดูแล และอาสาสมัครสาธรณสุขมีความรู้ –ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ,การรักษา ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดกับผู้ป่วยได้
2กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยสามารถควบคุมความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีขึ้น
3กลุ่มเป้าหมายที่มีระดับGFR ในระดับ3 สามารถมีระดับGFR ที่เพิ่มขึ้น
4ชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจผ่านสื่อไวนิลเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและนำไปปฏิบัติได้ถูกต้องชุมชน
5ผู้ป่วย ผู้ดูแลและ อาสาสมัครสาธารณสุขแปรผลจากสมุดประจำตัวได้และ ร่วมกันดูแลซึ่งกันและกัน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................