กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน รหัส กปท. L7010

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัย
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลสมเด็จยุพราชสายบุรี
กลุ่มคน
1 นางสุพัชญา ด้วงคง เบอร์โทร 09 3134 1788
2 นางสาวมายีดะห์ ดอเลาะ เบอร์โทร 08 72957112
3 นางสาวชนิตา เพื่อนฝูงเบอร์โทร 08 3258 1503
4 นายมูฮำหมัด หะมะเบอร์โทร 06 5075 3329
5 นางนูรมาวาบาเบอร์โทร 08 9659 8884
3.
หลักการและเหตุผล

บุคคลที่จะประสบความสําเร็จและมีชีวิตที่เป็นสุขนั้น ต้องมีความสามารถทางเชาวน์ปัญญาที่ดี (IQ) ควบคู่ไปกับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ที่ดีด้วย จึงจะเป็นคนที่มีคุณภาพ หากขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ย่อมทำให้การพัฒนาเป็นไปอย่างไม่เต็มศักยภาพ ไอคิว = Intelligence Quotient (IQ) เป็นผลลัพธ์จากการประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา ซึ่งไอคิว หมายถึง ความสามารถในการเรียนรู้ การจํา การคิดอย่างมีเหตุผล การตัดสินใจ ความสามารถทางการสื่อสาร ไอคิวเป็นตัวทํานายความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กได้ ไอคิว เป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่กำเนิดสามารถถูกพัฒนาให้ดีขึ้นได้ตามศักยภาพของเด็กซึ่งหากได้รับการกระตุ้นพัฒนาอย่างเหมาะสมตามวัยโดยเฉพาะในช่วงขวบปีแรกอย่างถูกต้องก็จะทําให้สติปัญญาพัฒนาขึ้นได้อย่างเต็มศักยภาพ อีคิว = Emotional Quotient (EQ) เป็นผลลัพธ์จากการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ซึ่งความฉลาดทางอารมณ์ หมายถึง ความสามารถในการจัดการกับอารมณ์ของตนเอง รู้จักควบคุมและแสดงออกอย่างเหมาะสม เข้าใจตนเองและผู้อื่น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ความฉลาดทางอารมณ์สามารถพัฒนาได้จากการเลี้ยงดู กระตุ้นพัฒนาถูกต้องตั้งแต่วัยเด็ก เด็กทีมี่ความฉลาดทางอารมณ์ย่อมเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสุขอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างราบรื่น และสามารถใช้ความสามารถทางสติปัญญาของตนเองได้เต็มที่ ทั้งไอคิวและอีคิวมีแนวทางการพัฒนาและเสริมสร้างไม่ต่างกันขึ้นอยู่กับวิธีการ ซึ่งการเล่านิทานก็เป็นอีกหนึ่งวิธีการในการส่งเสริมพัฒนาการทั้งทางด้านไอคิวและอีคิว นิทานช่วยปลูกฝังให้เด็กเป็นคนช่างคิดและช่างสังเกตซึ่งเป็นพื้นฐานของการสร้างเด็กให้มีความมั่นใจกล้าคิด และกล้าแสดงความคิดเห็นในสิ่งที่ถูกที่ควร ถูกที่และถูกเวลา นิทานทำให้เด็กได้เรียนรู้ด้านภาษาการที่เด็กได้ฟังเสียงที่ได้ยิน จะทำให้รู้จักคำ ความหมายของคำรู้จักประโยคและความหมายของประโยค เป็นการปูพื้นฐานทักษะด้านการฟัง พูด อ่านเขียนให้กับเด็ก นิทานยังกระตุ้นจินตนาการของเด็กน้ำเสียงที่พ่อแม่เล่านิทานให้เด็กฟังจะช่วยเสริมสร้างจินตนาการ การเล่านิทานบ่อยๆจะทำให้เด็กได้ฝึกการสร้างสรรค์จินตนาการที่แปลกใหม่กว้างไกล ไร้ขอบเขต นิทานช่วยบ่มเพาะคุณธรรมและจริยธรรมให้กับเด็ก นิทานส่วนใหญ่จะสอดแทรกคุณธรรม ทักษะชีวิตและข้อคิดดีๆไว้ในเนื้อเรื่องหรือตอนท้ายของเรื่องทำให้เด็กได้ตระหนักถึงคุณงามความดี และสิ่งเหล่านี้จะติดตัวเด็กไปจนกระทั่งเติบโต นิทานเสริมสร้างสมาธิช่วงเวลาของการฟังนิทานเด็กจะตั้งใจฟังอย่างใจจดใจจ่อหากพ่อแม่เลือกนิทานได้เหมาะสมกับช่วงวัย ก็จะทำให้ลูกเข้าใจเรื่องราวของนิทาน และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ นิทานสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวช่วงเวลาดีๆที่พ่อแม่เล่านิทานให้ลูกฟัง จะเป็นช่วงเวลาแห่งความรักและความอบอุ่นเป็นการเสริมสร้างสายใยความผูกพันอันดีระหว่างพ่อแม่ลูก นอกจากนั้นนิทานยังช่วยพัฒนาการขั้นพื้นฐานของเด็ก นิทานช่วยกระตุ้นประสาทสัมผัสต่างๆ เช่น หู ตา รวมทั้งสมอง นิทานช่วยสร้างสมาธิ ความจำดีและปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน ถือเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างเพลิดเพลิน การเล่านิทานจะช่วยให้เด็กเกิดทักษะการฟัง การพูด กล้าแสดงออก ปลูกฝังความประพฤติและค่านิยมในสังคม และเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนช่วยปรับพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของเด็ก ในขณะที่การอ่านนิทานให้ลูกฟังหากให้ลูกนั่งตัก ลูกจะได้รับความอบอุ่นจากสัมผัส และสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างพ่อแม่ลูก ดังนั้นโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรีมีแนวคิดที่จะส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัยในเขตตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ซึ่งในการจัดทำโครงการในครั้งนี้ ในฐานะเป็นนักจิตวิทยาจึงเลือกใช้รูปการเสริมสร้างไอคิวอีคิวด้วยวิธีการอ่านนิทาน อันจะนำไปสู่การปลูกฝังให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้การมีนิสัยรักการอ่าน มีทักษะในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน รวมไปถึงการได้รับการปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. ครูและผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์ของนิทานและเทคนิคการเล่านิทาน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัยทำให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 3. ผู้ปกครองและครูมีทักษะในการเล่านิทานและสามารถเลือกนิทานให้กับเด็กได้เหมาะสมกับวัย 4. ผู้ปกครองและครูมีสื่อประกอบการเล่านิทานและนำไปประกอบการเล่านิทานให้กับเด็กได้
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของครูและผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์ของนิทานและเทคนิคการเล่านิทาน 2. ร้อยละ 80 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัยทำให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 3. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองและครูมีทักษะในการเล่านิทานและสามารถเลือกนิทานให้กับเด็กได้เหมาะสมกับวัย 4. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองและครูมีสื่อประกอบการเล่านิทานและนำไปประกอบการเล่านิทานให้กับเด็กได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัย
    รายละเอียด

    1.บรรยายเรื่อง“ประโยชน์ของนิทานและเทคนิคการเล่านิทาน" - ค่าวิทยากรบรรยาย (ชั่วโมงละ ๖๐๐ จำนวน 5 ชั่วโมง) × 1 วัน = 3,000 บาท - ค่าวิทยากรกลุ่ม (ชั่วโมงละ 300 จำนวน 3 ชั่วโมง) × 5 คน = 4,500 บาท
    - ค่าเดินทางวิทยากร = 250 บาท
    - ค่าเดินทางผู้เข้าร่วมโครงการ 100 บาท × 40 คน× 2 วัน= 4,000 บาท - ค่าป้ายไวนิล 1 เมตร x 2 เมตร = 500 บาท
    - ค่าป้ายไวนิลความรู้พร้อมขาตั้ง (ขนาด 80 x 180 เซนติเมตร x 2 อัน = 1,700 บาท - ค่าหนังสือ ค่าวัสดุเครื่องเขียน และอุปกรณ์ทำสื่อ = 4,500 บาท(เหมาจ่าย) - แฟ้มใส่เอกสาร ,สมุด ,ปากกา - หนังสือนิทาน - อุปกรณ์การทำสื่อประกอบการเล่านิทาน รวมเป็นเงิน 18,450 บาท

    2.ประกวดการเล่านิทาน - ค่ารางวัล = 1,100 บาท - รางวัลที่ 1500 บาท
    - รางวัลที่ 2 300 บาท - รางวัลที่ 3200 บาท
    - รางวัลชมเชย 100 บาท
    - ค่าวิทยากรกลุ่ม (ชั่วโมงละ 300 จำนวน 5 ชั่วโมง) × 5 คน = 7,500 บาท- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 45 ชุด ๆละ 25 บาท x 2 มื้อx 2 วัน = 4,500 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 45 ชุด ๆละ 50บาท x 1 มื้อ x 2 วัน = 4,500 บาท รวมเป็นเงิน 17,600บาท

    งบประมาณ 36,050.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาตาตีมอ ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 36,050.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ครูและผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์ของนิทานและเทคนิคการเล่านิทาน
  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนิทานเพื่อเสริมสร้างไอคิวอีคิวเด็กปฐมวัยทำให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 3. ผู้ปกครองและครูมีทักษะในการเล่านิทานและสามารถเลือกนิทานให้กับเด็กได้เหมาะสมกับวัย
  3. ผู้ปกครองและครูมีสื่อประกอบการเล่านิทานและนำไปประกอบการเล่านิทานให้กับเด็กได้
  4. เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้นทั้งทางด้าน IQ และ EQ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน รหัส กปท. L7010

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน รหัส กปท. L7010

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 36,050.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................