กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางปอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรู้เท่าทันการใช้ยาในการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนบ้านโคกตีเต

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางปอ

ชมรมอาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านบ้านโคกตีเต หมู่ที่ ๒

1.นางวรารัตน์จันทร์ลำภู

2.นางบุญสมกุ้งแก้ว

3.นางสาวราตรีภรณ์ เส้งสีแดง

4.นางสาวทิมร์พรหมสีลาย

5.นางเกศราเส้งสีแดง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เมื่อเกิดความเจ็บป่วยประชาชนส่วนใหญ่จะมีวิธีการรักษาตนเองตามแต่ทัศนคติของแต่ละคน แต่ส่วนมากเลือกที่จะซื้อยามารับประทานเอง ซึ่งเป็นการใช้ยาโดยไม่ผ่านการตัดสินใจของบุคลากรทางการแพทย์ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นการใช้ยารักษาตนเอง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์สากลและเป็นรูปแบบการจัดการปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยที่สุดอย่างหนึ่งในทุกสังคม และพบว่าพฤติกรรมการซื้อยามากินเองของประชาชนคือหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมของประเทศ การพัฒนาองค์ความรู้ การปรับแนวคิดการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ชุมชนรู้เท่าทันการใช้ยา
ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านโคกตีเต หมู่ที่ 2 จัดทำโครงการรู้เท่าทันการใช้ยาในการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนบ้านโคกตีเตขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 อสม.และประชาชน มีความรู้เบื้องต้นในการแยกประเภทของยาเสื่อมสภาพ ยาเหลือใช้ ยาหมดอายุ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลในชุมชน

1.ร้อยละ 85 ของกลุ่มเสี่ยงสามารถหลีกเลี่ยงการซื้อยาใช้เอง

0.00
2 ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและการตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพ

2.ร้อยละ 80 ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและการตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพ

0.00
3 ร้านชำในชุมชนบ้านโคกตีเต ไม่มีการขายยาอันตราย ยาปฏิชีวนะ

3.ร้อยละ 100 ร้านชำในชุมชนบ้านโคกตีเต ไม่มีการขายยาอันตราย ยาปฏิชีวนะ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น :

กำหนดเสร็จ :

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านโคกตีเต หมู่ที่ 2

ชื่อกิจกรรม
1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านโคกตีเต หมู่ที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่าง30 คน x 25 บาท เป็นเงิน 750.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

กิจกรรมที่ 2 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ อสม.และประชาชน เรื่องยาและเครื่องสำอาง และ กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง....แก่ตัวแทนผู้ประกอบการร้านชำ เรื่อง อย. ยา และเครื่องสำอาง

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ อสม.และประชาชน เรื่องยาและเครื่องสำอาง และ กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง....แก่ตัวแทนผู้ประกอบการร้านชำ เรื่อง อย. ยา และเครื่องสำอาง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 75 คน x 2 มื้อ x 25 บาทเป็นเงิน3,750.-บาท

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 75 คน x 1 มื้อ x 50 บาทเป็นเงิน3,750.-บาท

-ค่าป้ายโครงการกิจกรรม
ขนาด 1.2 เมตร x 2.5 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 850.-บาท

-ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงฯละ 600 บาทเป็นเงิน 3,600.- บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน x 2 มื้อ x 25 บาทเป็นเงิน 500.-บาท

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน x 1 มื้อ x 50 บาทเป็นเงิน 500.-บาท

-ค่าป้ายโครงการกิจกรรม ขนาด 1.2 เมตร x 2.5 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 850.-บาท

-ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมงฯละ 600 บาทเป็นเงิน 3,000- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16800.00

กิจกรรมที่ 3 3.ติดป้ายไวนิลอันตรายจากสเตียรอยด์ในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
3.ติดป้ายไวนิลอันตรายจากสเตียรอยด์ในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าป้ายอันตรายจากสเตียรอยด์ ขนาด 1 เมตร x 1.5 เมตร จำนวน 3 ป้ายๆละ 550 บาท   เป็นเงิน  1,650.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1650.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถหลีกเลี่ยงการซื้อยาใช้เอง

2.ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและการตระหนักรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพ

3.ร้านชำในชุมชนบ้านโคกตีเต ไม่มีการขายยาอันตราย ยาปฏิชีวนะ


>