กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวานตำบลปันแต ปีงบประมาณ 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต

พื้นที่หมู่ที่ 1-13 ตำบลปันแตอำเภอควนขนุนจังหวัดพัทลุง , ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองร้อยละ 40 3.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 50 5. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 6.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 70
  1. คัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป ร้อยละ 90 ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง
  2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ.2 ส. ร้อยละ 40
  3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 60 ประมวลผลจากฐานข้อมูล JHCIS
  4. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านร้อยละ 50ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง
  5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 5ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง
  6. อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประเมินจากแบบทดสอบการอบรม ก่อน-หลัง มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 85
  7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติร้อยละ 70 ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง
1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,750
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ 31/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย 2.จัดทำแผนงานโครงการ/ขออนุมัติโครงการ/จัดซื้อวัสดุการแพทย์ 3. ชี้แจงให้ อสม.ทราบขั้นตอนการคัดกรอง และนัดกลุ่มเป้าหมาย 4. ออกดำเนินงานคัดกรองตามแผนที่กำหนดไว้ 5. รวบรวมข้อมูล ลงบันทึกผลการปฏิบัติงานในโปรแกรมJHCIS 6. จัดกิจกรรมป

ชื่อกิจกรรม
1. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย 2.จัดทำแผนงานโครงการ/ขออนุมัติโครงการ/จัดซื้อวัสดุการแพทย์ 3. ชี้แจงให้ อสม.ทราบขั้นตอนการคัดกรอง และนัดกลุ่มเป้าหมาย 4. ออกดำเนินงานคัดกรองตามแผนที่กำหนดไว้ 5. รวบรวมข้อมูล ลงบันทึกผลการปฏิบัติงานในโปรแกรมJHCIS 6. จัดกิจกรรมป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป

- ค่าแถบตรวจระดับน้ำตาลในเลือด พร้อมเข็มเจาะ จำนวน 55 กล่อง x 390 บาท เป็นเงิน 21,450 บาท -  ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้ารับการคัดกรอง/แบบคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะโรคกลุ่ม Metabolic จำนวน 2,750 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 1,375 บาท - สำลีก้อนชุบแอลกอฮอล์สำเร็จ แผงละ 8 ก้อน กล่องละ 100 แผง กล่องละ 850 บาท จำนวน 2 กล่อง เป็นเงิน 1,700 บาท รวมเป็นเงิน  24,525 บาท

  1. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ประชาชนกลุ่มสงสัยเป็นโรค
    -ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัดจำนวน 50 คนx 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน  1,250 บาท

- ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน x 3 ชั่วโมง  x 300 บาท
เป็นเงิน 900 บาท
รวมเป็นเงิน  2,150 บาท

3.กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX  ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
        ไม่มีค่าใช้จ่าย 4.กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิตที่บ้าน -เครื่องวัดความดันอัตโนมัติ จำนวน  13 หมู่บ้าน x  จำนวน 13  เครื่อง x 3,500 บาท เป็นเงิน 45,500 บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มวัดความดันที่บ้าน จำนวน 150 แผ่น x
0.50  บาท เป็นเงิน 75  บาท     รวมเป็นเงิน  45,575 บาท 5. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง     ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้
-ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัดจำนวน 30 คน x     1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน  750 บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน x 3 ชั่วโมง x 300 บาท
เป็นเงิน 900 บาท
    รวมเป็นเงิน  1,650  บาท

6 กิจกรรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัดจำนวน 117 คนx 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน  2,925 บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน x3 ชั่วโมง x 300 บาท
เป็นเงิน 900 บาท
    รวมเป็นเงิน  3,825  บาท 7 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินเท้าตามแนวทางผู้ปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน
-ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 195 คน x 1  มื้อ  x 25บาท เป็นเงิน 4,875 บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มตรวจเท้า จำนวน 190 แผ่น  x 0.50  บาท เป็นเงิน  95 บาท -ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญตรวจเท้า จำนวน 190 แผ่น x 0.50  บาท
เป็นเงิน 95บาท รวมเป็นเงิน  5,065  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. คัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป
    ร้อยละ 90 ประมวลผลจากฐานข้อมูล  HDC On Cloud  สสจ.พัทลุง
  2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ.2 ส. ร้อยละ 40
  3. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 60 ประมวลผลจากฐานข้อมูล JHCIS
  4. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน  ร้อยละ 50ประมวลผลจากฐานข้อมูล  HDC On Cloud  สสจ.พัทลุง
  5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตไม่ได้ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 5ประมวลผลจากฐานข้อมูล  HDC On Cloud  สสจ.พัทลุง
  6. อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประเมินจากแบบทดสอบการอบรม ก่อน-หลัง มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 85
  7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ  ร้อยละ 70 ประมวลผลจากฐานข้อมูล  HDC On Cloud  สสจ.พัทลุง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
82790.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 82,790.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน
และความดันได้
2 ลดอัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่
3 กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.
4 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) ได้รับการเจาะFBS ซ้ำเพื่อติดตามผล
5. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
6. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาล-ความดันโลหิตไม่ได้ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น
7.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าตามเกณฑ์มาตรฐานได้รับการส่งต่อในรายที่พบภาวะผิดปกติ


>