กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ขอเสนอโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบูกิ๊ตจือแร

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบูกิ๊ตจือแร ตำบลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่

 

0.00
2 2. เพื่อให้มีทรัพยากรเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 22
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 จัดประชุม อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการคัดกรอง ฝึกใช้เครื่องวัดไข้แบบยิงหน้าผาก การให้คำแนะนำ และการดำเนินงานในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) กับประชาชนในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุม อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการคัดกรอง ฝึกใช้เครื่องวัดไข้แบบยิงหน้าผาก การให้คำแนะนำ และการดำเนินงานในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) กับประชาชนในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 22 คน X 25 บาท X 2 มื้อ        เป็นเงิน   1,100   บาท
  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 22 คน X 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน   1,100   บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาติดต่อได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2200.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์ความรู้กับประชาชนในพื้นที่ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์ความรู้กับประชาชนในพื้นที่ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 จัดจ้างทำป้ายไวนิล ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขนาด 100x200 เซนติเมตร  จำนวน 6 ผืนๆ ละ 500 บาท  เป็นเงิน  3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนในพื้นที่ได้รับการป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาติดต่อ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา (COVID-19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 หน้ากากอนามัย N95      จำนวน 100 ชิ้น ๆ ละ  200 บาท เป็นเงิน 20,000   บาท 3.2 เจลล้างมือแอลกอฮอล์ (500 มล.)  จำนวน 20 ขวดๆ ละ 350 บาท  เป็นเงิน    7,000   บาท 3.3 เจลล้างมือแอลกอฮอล์ (60 มล.)    จำนวน 100 ขวดๆ ละ  80 บาท  เป็นเงิน   8,000   บาท 3.4 เสื้อกันฝน  จำนวน 100 ชุดๆ ละ 90 บาท     เป็นเงิน   9,000   บาท 3.5 หมวกคลุมผมพลาสติก (Hood)    จำนวน 1 เเพ็คๆ ละ 350 บาท     เป็นเงิน     350   บาท 3.6 แว่นครอบตาแบบใส (Goggles)     จำนวน 10 ชิ้นๆ ละ  120  บาท   เป็นเงิน    1,200  บาท 3.7 กระบังหน้าแบบใส (Face Shield)  จำนวน 30 ชิ้นๆ ละ 60 บาท      เป็นเงิน    1,800   บาท 3.8 พลาสติกหุ้มรองเท้า (Shoe Covers) จำนวน 100 คู่ๆ ละ 50  บาท    เป็นเงิน    5,000   บาท 3.9 ชุดหมีป้องกันเชื้อโรค (coverall)   จำนวน 20 ตัวๆ ละ 550 บาท     เป็นเงิน   11,000  บาท 3.10 เสื้อป้องกัน(Isolution gown)      จำนวน 10 ตัวๆละ 150  บาท     เป็นเงิน    1,500  บาท 3.11 เครื่องวัดไข้แบบยิงหน้าผาก       จำนวน 4 เครื่องๆ ละ 3,500 บาท เป็นเงิน  14,000  บาท 3.12 ปรอทวัดไข้อัตโนมัติ(แบบดิจิตอล)    จำนวน 50 ตัวๆละ 250 บาท เป็นเงิน  12,500  บาท 3.13 ที่กดเจลล้างมือแบบเท้าเหยียบ  จำนวน 1 ตัวๆละ 1,500 บาท    เป็นเงิน  1,500   บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
92850.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 98,050.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาติดต่อได้2. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาติดต่อ
3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ


>